Page 39 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 39

โครงสร้าง และสถาบันการเมืองการปกครองของไทย 5-29

                 หลักก​ ารส​ ำ�คัญ​ของพ​ ระร​ าชพ​ ิธี และ​พิธีส​ ำ�คัญด​ ัง​กล่าว​นี้ ก็ค​ ือ เพื่อ​แสดง​ถึงส​ ถานะอ​ ัน​
สูงส่งข​ องพ​ ระ​มหาก​ ษัตริย์ท​ ี่เ​สมือน​เทพ​อวตาร และม​ ี​การอ​ ัญเชิญเ​ทวดาจ​ ำ�นวนม​ าก​มา​ร่วม​เป็น​สักขีพ​ ยาน​ใน​
พระร​ าชพ​ ธิ ท​ี ส​ี่ �ำ คญั เชน่ พระร​ าชพ​ ธิ บ​ี รมร​ าชาภเิ ษกแ​ ละพ​ ระร​ าชพ​ ธิ ป​ี ราบดาภเิ ษก เปน็ ตน้ สว่ นพ​ ระร​ าชพ​ ธิ ถ​ี อื น​ าํ้
​พระ​พิพัฒน์​สัต​ยา มี​หลัก​การ​สำ�คัญ เพื่อ​แสดงออก​ถึง​พระบรม​เดชานุภาพ พระ​ฤทธา​นุ​ภาพ และ​การ​
สร้างเ​สริมพ​ ระบ​ ารมพี​ ระม​ หาก​ ษัตริย์ การเ​น้นย​ ํ้าถึงค​ วามช​ อบธ​ รรมใ​นพ​ ระร​ าชอ​ ำ�นาจ และเ​ป็นการบ​ ังคับ และ​
เรียก​ร้อง​ให้​พระ​ราชวงศ์ และ​ขุนนาง​ทุก​ระดับ​จะ​ต้อง​แสดง​ความ​จงรัก​ภักดี​ต่อ​พระ​มหา​กษัตริย์​เสมือน​กับ​
เทพเจ้า เหตุน​ ี้ พิธีกรรมส​ ำ�คัญ​ต่างๆ ที่มาจ​ ากศ​ าสนา​พราหมณ์ จึงถ​ ือเ​ป็นก​ ลไกใ​น​การ​เสริม​สร้างอ​ ุดมการณ์​
รา​ชาธิปไ​ตยใ​น​รูปแ​ บบส​ มมติ​เทพข​ อง​องค์​พระม​ หา​กษัตริย์​อย่างเ​ด่นช​ ัด

                 พระ​ราช​พิธี​พระราชทาน​กฐิน เป็น​พระ​ราช​พิธี​ที่​พระ​มหา​กษัตริย์​จะ​ต้อง​เสด็จ
พระราชดำ�เนิน​เป็น​ประจำ�​ทุก​ปี และ​เกี่ยวข้อง​กับ​พุทธ​ศาสนา​โดยตรง และ​เป็น​โอกาส​สำ�คัญ​ที่​ประชาชน
จะ​ได้​เห็น​พระ​มหา​กษัตริย์​ได้​เต็ม​ที่​ใน​พระ​ราช​พิธี วัตถุประสงค์​สำ�คัญ​ของ​พระ​ราช​พิธี​นอกจาก​จะ​เป็น​
พระ​ราช​ประเพณี​ตาม​คติ​พุทธ​ศาสนา​แล้ว ยัง​เป็นการ​แสดงออก​ถึง “ทิพย​ภาวะ​และ​พระ​บุญ​ญาธิ​การ​ของ
​พระ​มหา​กษัตริย์” อีก​ส่วน​หนึ่งด​ ้วย (จันทร์​ฉาย ภัค​อธิคม 2528: 73-74)

                 3.2) 	 การ​กำ�หนด​ระเบียบ​ปฏิบัติ​ที่​เข้ม​งวด​และ​เคร่งครัด​ต่อ​สถาบัน​พระ​มหา​กษัตริย์
เป็นร​ ะเบียบป​ ฏิบัติท​ ี่เ​ป็นข​ ้อบ​ ังคับต​ ามก​ ฎหมาย หรืออ​ ย่างเ​ป็นท​ างการ คือ กฎม​ ณเฑียรบ​ าล ที่ป​ ระชาชนเ​ป็น​
ฝ่ายย​ ินดี หรือเ​ต็มใจใ​นก​ ารถ​ วายพ​ ระเ​กียรติแ​ ละพ​ ระอ​ ภิสิทธิ์แ​ ด่พ​ ระม​ หาก​ ษัตริย์ เป็นการบ​ ูชาพ​ ระองค์เ​สมอ​
ด้วย​เทพห​ รือ​พระ​ผู้เ​ป็น​เจ้า จน​ค่อยๆ กลายเ​ป็นธ​ รรมเนียม​ปฏิบัติ และว​ ิถี​ทางในก​ าร​ดำ�รง​ชีวิตข​ อง​คนในย​ ุค​
กรุงศ​ รีอยุธยาแ​ ละต​ ่อเ​นื่อง​มา​อีกก​ ว่า 400 ปี

                ระเบียบ​ปฏิบัติ​หรือ​กฎ​เกณฑ์​เก่ียว​กับ​สถาบัน​พระ​มหา​กษัตริย์​ที่​สำ�คัญ ได้​แก่
(จันทร​ฉ์ าย ภัคอ​ ธิคม 2528: 94-105)

                     3.2.1) 	การ​ห้าม​เอ่ย​พระนาม​พระ​มหา​กษัตริย์ โดย​เฉพาะ​อย่าง​ย่ิง​พระนาม​ตาม
พ​ระ​สพุ รรณบัฏ ถา้ เ​อย่ ถ​ ือวา่ “หมิ่นป​ ระมาทต​ อ่ พ​ ระ​เจ้า​แผ่นดนิ ” และม​ ​โี ทษ​สถาน​หนกั ถงึ ต​ าย

                     3.2.2) 	เหลา่ ​ขุนนางต​ ้อง​หมอบก​ ราบ​ถวาย​บังคม 3 ครั้ง และ​อยู่​ในค​ วามส​ งบเ​งยี บ​
ปราศจากเ​สียงใ​ดๆ เมอื่ ​พระ​มหาก​ ษตั รยิ ์​เสด็จ​ออก

                     3.2.3) 	ราษฎร ต้อง​ปดิ ป​ ระตู หนา้ ต่าง และอ​ อกจ​ าก​เคหสถานแ​ ล้ว​หมอบก​ ราบ​โดย​
ศีรษะ เขา่ ข้อศอกแ​ ละ​มอื จ​ รด​พ้นื ด้วย​อาการส​ งบน​ ิง่ เมอื่ พ​ ระม​ หา​กษัตรยิ เ​์ สด็จโ​ดยข​ บวน​พยุหยาตรา

                     3.2.4) 	การ​ห้าม​มอง​พระ​พักตร์​อย่าง​เด็ด​ขาด เพราะ​คติ​ความ​เชื่อ​ของ​ศาสนา​
พราหมณ์​ท่ี​ว่า เทว​ราชา​ทรง​มี “พระบรม​เดชานุภาพ​เสมือน​พระอาทิตย์​อัน​ร้อน​แรง” มี​ทั้ง​คุณ​และ​โทษ​ต่อ​
มนษุ ย์

                     3.2.5) 	การ​สำ�เร็จ​โทษ พระ​ราชวงศ์ ตาม​กฎ​มณเฑียร​บาล กำ�หนด​ไว้ 2 ลักษณะ
หรือ​วิธี เพ่ือ​ไม่​ให้ “ขัตติย​โลหิต” ต้อง​ตก​จาก​พระ​วรกาย​จาก​ภาวะ​ความ​เป็น​เทพ หรือ​ตระกูล​แห่ง​ทวย​เทพ
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44