Page 41 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 41
โครงสร้าง และสถาบันการเมืองการปกครองของไทย 5-31
กลไกส �ำ คญั ในก ารน�ำ มาจ ดั โครงสรา้ งท างการเมอื ง และก ารส รา้ งส ถาบนั พ ระม หากษตั รยิ ์
ให้เข้มแ ข็งมากขึ้น นอกเหนือจ ากก ารนำ�เอาแ นวคิดและหลักการข องศาสนาพ ราหมณ์มาป ระยุกต์ใช้ ขณะท ี่
ยังคงมีแนวคิดและหลักการสำ�คัญของพุทธศาสนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งคือ หลักทศพิธราชธรรม หรือธรรม
ของพระเจ้าแผ่นดิน เป็นแก่นความคิดสำ�คัญที่ใช้ร่วมกัน สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถยังสร้างกลไกสำ�คัญ
เข้ามาเสริมอ ีก 2–3 ระบบ คือ ระบบศ ักดินา ระบบไพร่ และระบบทาส
ระบบศ กั ดนิ า มคี วามห มายต ามภ าษาว า่ “อ�ำ นาจเหนอื น าห รอื ท ีด่ นิ ” และใชก้ �ำ หนดศ กั ดิ์
หรือเกียรติศักดิ์ ของบุคคลในสังคมตามจำ�นวน “ไร่” หรือพ ื้นที่นา พระม หากษัตริย์ทรงมีศักดิ์ส ูงสุด หรือ
ทรงเป็น “พระเจ้าแผ่นดิน” เพราะทรงม ีสถานะส ูงสุดในส ังคม พระร าชวงศ์ที่มีต ำ�แหน่งสูงในโครงสร้างของ
การเมืองก ารปกครอง เช่น พระม หาอุปราช ศักดินา 100,000 ไร่ พระร าชวงศ์อ ื่นๆ ก็มีศักดินาล ดหลั่นก ันไป
เช่น พระอ นุชาธิร าช ศักดินา 20,000 ไร่ พระเจ้าล ูกเธอ ศักดินา 15,000 ไร่ ขุนนาง หรือข ้าราชการต ำ�แหน่ง
สูง เช่น เจ้าพระยาจ ักรี สมุหนายก ศักดินา 10,000 ไร่ และพ ระร าชส ุภาว ดี เจ้ากรมสุรัสวดี ศักดินา 5,000
ไร่ ขุนนางผู้น้อย ศักดินา 400 ไร่ ถ้าต ํ่าก ว่า 400 ไร่ หรือ 50 ไร่ข ึ้นไป เป็นขุนนางหน้าที่ไม่สำ�คัญ พระภิกษุ
ก็อยู่ในระบบศักดินา แยกตาม “การรู้ธรรม” และ “ไม่รู้ธรรม” เช่น พระครูรู้ธรรม ศักดินา หรือเรียกว่า
“เสมอน า” 2,400 ไร่ พระภิกษุท ั่วไปไม่รู้ธรรม “เสมอนา” 400 ไร่ เป็นต้น ไพร่หรือสามัญช นทั่วไป ศักดินา
10–25 ไร่ และตํ่าสุด คือ ทาส ศักดินา 5 ไร่ (ศุภร ัตน์ เลิศพาณิชย์ก ุล 2527: 111-179)
ระบบศักดินา คาดว่าได้มีการใช้มาแล้วในหลายสังคมก่อนสมัยอยุธยา แต่สมเด็จ
พระบรมไตรโลกนาถได้นำ�มาปรับและจัดระบบใช้อย่างชัดเจนและจริงจัง เพราะเดิมนั้นเป็นการจัดแยกคน
ตามจ �ำ นวนท ีด่ นิ เปน็ ช นชัน้ ส งู และส ามญั ช น ตามต �ำ แหนง่ ท มี่ อี �ำ นาจต ดั สนิ ใจในท ีด่ นิ ต ามท ไี่ ดค้ รอบค รองจ รงิ
คือ พระมหากษัตริย์ พระร าชวงศ์ และข ุนนาง อยู่ในก ลุ่มข องช นชั้นส ูง (Likhit Dhiravegin, 1956: 18)
นอกจากนี้ ยังมีการใช้ระบบอื่นประกอบกับระบบศักดินา คือ “ยศ” เป็นตำ�แหน่งที่
มีเกียรติยศ “ราชทินนาม” ที่มาจากการพระราชทานของพระมหากษัตริย์ให้กับผู้ดำ�รงตำ�แหน่งต่างๆ และ
“ตำ�แหน่ง” เพื่อจ ัดแ ยกล ำ�ดับช ั้นข องผ ูม้ ตี ำ�แหน่ง (William J.Siffin, 1966: 19) เช่น หน่วยง านก รมน ครบาล
เสนาบดี คือ ตำ�แหน่ง ได้ร ับพระราชทานย ศและราชทินนามว่า “พระยายมราชอินทราธิบดีศรีวิชัยบริรักษ์
โลกาก ร” หรือ “พระยาย มราช” ศักดินา 10,000 ไร่ เป็นต้น (ศุภร ัตน์ เลิศพาณิชย์กุล 2527: 152)
สว่ นร ะบบไพร่ และร ะบบท าส กม็ มี าก อ่ นย คุ อ ยธุ ยาเชน่ เดยี วกนั แตอ่ ยธุ ยาม ผี ูค้ นอ าศยั
อยู่จ ำ�นวนม าก ทำ�ให้จ ำ�เป็นต ้องจัดระบบให้ร ัดกุม เพื่อให้ศูนย์กลางส ามารถควบคุม และระดมค นเข้าสู่การ
ใช้แ รงงาน และก ารสงครามได้อ ย่างม ีป ระสิทธิภาพ การจัดร ะบบไพร่ โดยเฉพาะอย่างย ิ่งในกลุ่มเพศช ายจึง
มีค วามส ำ�คัญ จากก ารป ฏิรูปก ารเมืองก ารป กครองในย ุคน ี้ ไพร่จ ึงถ ูกจ ัดแ บกอ อกเป็น 2 ส่วน ทีเ่กี่ยวข้องก ัน
คือ มีสถานภาพทางทหารกับสถานภาพพลเรือนควบคู่กันไป แต่เพศชายก็สามารถออกไปจากระบบได้ ทั้ง
ในลักษณะช ั่วคราวห รือตลอดไป จากก ารบวชตามหลักการพุทธศาสนา เหตุน ี้ จารีตป ระเพณีข องส ังคมและ
หลักก ารทางศ าสนาจึงเป็นฐานความช อบธ รรมข องโครงสร้างทางสังคมด ังกล่าวน ี้ รวมทั้งระบบท าสที่คาดว ่า
มีอยู่ราว 1 ใน 4 หรืออาจถึง 1 ใน 3 ของคนทั้งหมดในสังคม (Siffin, 1966: 8-9) ทั้งที่เกิดจากการถูก
กวาดต้อนเข้าม าห ลังส งคราม และก ารต ิดห นี้ส ิน และก ารข ายตัวเป็นท าสค นอ ื่น ต่างก ันตรงท ี่ไพร่ต ้องส ังกัด