Page 40 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 40
5-30 การเมืองการปกครองไทย
ได้แก่ หนึ่ง การทบุ ดว้ ยท่อนจนั ท์ ให้พระโลหิตตกใน และสอง การเนรเทศไปคมุ ขงั ให้อดพระกระยาหารจน
สนิ้ พระชนม์ (จันทร์ฉาย ภัคอธิคม 2528: 105-106)*
3.3 การสร้างคำ�ราชาศัพท์และการตั้งพระนามาภิไธยสำ�หรับใช้กับพระมหากษัตริย์ และ
พระราชวงศ์โดยเฉพาะตามลัทธิเทวราชาของศาสนาพราหมณ์ พระมหากษัตริย์ทรงอวตารมาจากพระผู้เป็น
เจา้ ในส รวงส วรรคด์ งั ก ลา่ วม าแ ล้ว พระม หาก ษตั รยิ แ์ ละส ถาบนั พ ระม หาก ษัตริย์ นอกจากจ ะม คี วามศ ักดิ์สทิ ธิ์
และสูงส่งเหนือกว่ามนุษย์ปุถุชนโดยทั่วไปแล้ว ยังมีลักษณะพิเศษเฉพาะที่เป็นหนึ่งเดียวในสังคม เหตุนี้
นอกเหนือจากการมีพระราชพิธี และพิธี “ศักดิ์สิทธิ์” เฉพาะ และการมีระเบียบกฎเกณฑ์ที่ต้องปฏิบัติจน
เกิดเป็นจารีตประเพณีสำ�คัญแล้ว คำ�ที่ใช้เรียกและคำ�ที่เอ่ยหรือพูดกับหรือพูดถึงพระมหากษัตริย์จึงต้องมี
ลักษณะพ ิเศษ และม ีลักษณะศักดิ์สิทธิ์ สูงส่ง เสมือนกับท ี่ใช้กับเทพเจ้าทั้งห ลาย
คำ�ราชาศัพท์ส ำ�คัญๆ ดังกล่าวนี้ ได้แ ก่ (จันทร์ฉ าย ภัคอธิคม 2528: 94-99)
1) การเอย่ พ ระนาม และอ น่ื ๆ วา่ “พระเจา้ อยหู่ วั ” “พระผ เู้ ปน็ เจา้ ” “สมเดจ็ พ ระพทุ ธเจา้ ห ลวง”
ขุนหลวง พระสงฆ์ จะใช้ค ำ�ว่า “พระบาทส มเด็จบรมบพิตรพ ระพุทธเจ้าอ ยู่หัว” และ “พระร าชสมภาร”
2) คำ�พูด คำ�กล่าว คำ�สั่ง ของพระมหากษัตริย์ ก็เป็น พระราชโองการ (ปกาศิตของ
พระอ ิศวร) พระบรมราชโองการ พระร าชดำ�รัส และพ ระราชโองการดำ�รัส เป็นต้น
3) สรรพสิ่งหรือสิ่งของอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับพระมหากษัตริย์ เช่น ที่พักอาศัย ก็
คือ พระราชวัง ปราสาทราชวัง และวัง เป็นต้น อื่นๆ ก็คือ องค์พระที่นั่ง พระราชสาส์น ตรา สีหบัญชร
เบญจดุริยางค์ พระภ ูษามาลา
สว่ นพ ระบรมน ามาภไิ ธย กเ็ กดิ ป ระเพณตี ัง้ พ ระน ามาภไิ ธยใหก้ บั พ ระม หาก ษตั รยิ ท์ เี่ สดจ็
ขึ้นครองร าชย์ ดังเช่นท ี่ปรากฏในพงศาวดารต ่างๆ ก็ค ือ สมเด็จพระรามาธิบดี (พระรามผ ู้เป็นใหญ่) สมเด็จ
พระร าเมศ วร (นามข องพ ระศ ิวลึงค์ท ี่เป็นส ัญลักษณ์ข องพ ระศ ิวะ) สมเด็จพ ระบรมร าชาธิราช (พระร าชาผ ู้ย ิ่ง
ใหญ่เหนือพ ระร าชาอ ื่น) สมเด็จพระบรมไตรโลกน าถ (ผู้เป็นใหญ่ เป็นที่พ ึ่งของโลกท ั้งสาม = พระพุทธเจ้า)
สมเด็จพ ระเจ้าท รงธรรม (พระราชาผ ูป้ ระพฤติธ รรม) พระเจ้าปราสาทท อง (มณเฑียรท อง หรือห อคำ�) สมเด็จ
พระนารายณ์ (พระนามพระวิษณุ) และสมเด็จพระภูมิทราชา (พระราชาผู้ทรงเป็นพระอินทร์บนพื้นพิภพ)
เป็นต้น (จันทร์ฉ าย ภัคอ ธิคม 2528: 106-107)**
* การส ำ�เร็จโทษพ ระม หาก ษัตรย์แ ละพ ระร าชวงศ์ด ้วยว ิธีอ ื่นๆ ปรากฏในเอกสารป ระว ัติศ าตร ์ต ่างๆ เช่น พระราชพ งศาวดาร
ฉบับสมเด็จพระพนรัตน์ เป็นต้น ได้บันทึกไว้ว่า โดยการเฆี่ยนจนสิ้นพระชนม์ กรณีเจ้าฟ้าธรรมาธิเบศร์และเจ้าฟ้าสังวาล และด้วย
วิธี “ตัดศีรษะ” หรือ “บั่นคอ” มี 1-2 ครั้ง คือ ครั้งแรกสำ�เร็จโทษขุนวรวงษาธิราช และครั้งที่สองสำ�เร็จโทษสมเด็จพระเจ้าตากสิน
หลังก ารสำ�เร็จโทษแล้วก ็จะนำ�พระศ พไปฝ ัง
** ตามร าชประเพณีนั้น พระน ามาภิไธยม ักจ ะป รากฏอยู่แต่เฉพาะในพ ระสุพรรณบัฏ พระน ามาภิไธยย่อปรากฏในเอกสาร
ราชการทั่วไป พระนามาภิไธยที่ปรากฏในกฎหมายตราสามดวง ที่มีการรวบรวมชำ�ระขึ้นในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น มักจะมีการ
แต่งเติมเสริมต ่อข ึ้นม าก และย ังม ีก ารต ั้งพ ระส มัญญาน ามใหม่ตามพร ะร าชจ ริยวัตรห รือพ ระเกียรติยศท ี่เด่นช ัดอ ันใดอ ันห นึ่งด้วย อาทิ
ขุนห ลวงหาว ัด ขุนหลวงข ี้เรือนพระเจ้าเสือ ขุนหลวงท้ายส ระ และพ ระเจ้าช้างเผือก เป็นต้น