Page 35 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 35
โครงสร้าง และสถาบันการเมืองการปกครองของไทย 5-25
2) การพยายามจ ัดแยกทหารกบั พ ลเรือนออกจ ากกัน
ลกั ษณะส �ำ คญั ท มี่ กี ารจ ดั ท �ำ ขึน้ ในย คุ น ี้ กค็ อื การก �ำ หนดใหม้ หี นว่ ยง านใหญข่ ึน้ ม า 2 หนว่ ยง าน
เพื่อให้มีหน้าที่โดยเฉพาะแยกออกจากกัน คือ ฝ่ายทหาร กับฝ่ายพลเรือน คือ (โปรดดูภาพที่ 5.1
ประกอบ)
2.1) ฝ่ายทหารเรียกว่า “สมุหกลาโหม” ผู้บังคับบัญชาสูงสุดคือ “สมุหพระกลาโหม”
ไดร้ ับพ ระราชทานย ศแ ละร าชทินนามว ่า เจ้าพระยาม หาเสนาบดวี ริ ิยภ ักดบี ดนิ ทร สรุ ินท รฤ าไชย เรียกส ั้นๆ ว่า
“เจ้าพระยาม หาเสนา” (ศักดินา 10,000 ไร่) มตี รา “คชสีห์” เป็นต ราป ระจำ�ตำ�แหน่ง (พิสิฐ เจริญว งศ์ คงเดช
ประพ ัฒน์ท อง และศ ุภร ัตน์ เลิศพาณิชย์ส กุล 2527: 150-157)
ตำ�แหน่งรองลงมามี 2 ตำ�แหน่ง คือ “เดโช” ผู้ดำ�รงตำ�แหน่งมียศและทินนามว่า
ออกญาส ีหราชเดโชไชย และ “ท้ายน ํ้า” ผู้ด ำ�รงต ำ�แหน่งมีย ศและราชทินนามว่า ออกญาสีหราชท ้ายน ํ้า (ต่าง
ก็มีศักดินา 10,000 ไร่) และยังมีหน่วยงานย่อยเสมือนเป็น “กองกลาง” ของหน่วยงานฝ่ายทหาร เรียกว่า
“ราชปลัดทูลฉ ลองม ีพะลำ�พัง” อีกหน่วยง านหนึ่ง (หลวงวิจ ิตรว าทการ 2493)
อ�ำ นาจห นา้ ท หี่ ลกั ๆ เกีย่ วขอ้ งก บั ก จิ การด า้ นท หาร ทมี่ กี ารจ ดั ห นว่ ยง านย อ่ ยๆ ของท หาร
ไว้หลายห น่วยงาน (โปรดด ูแ ผนภาพที่ 5.1 ประกอบ) รวมทั้งหน้าที่ในการร ะดมและค วบคุมก ำ�ลังไพร่พลท ี่
เกี่ยวข้องไปถ ึงราษฎรท ุกค นในราชอาณาจักรอ ีกด ้วย
2.2) ฝ่ายพลเรือน เรียกว่า “สมุหนายก” ผู้บังคับบัญชาส ูงสุดค ือ “สมุหนายก” มีย ศ
และราชทินนามว่า “เจ้าพระยาจักรีองครักษสมุหนายกอัครมหาเสนาบดี” เรียกสั้นๆ ว่า “เจ้าพระยาจักรี”
(ศักดินา 10,000 ไร่) มีตรา “พระร าชสีห์” เป็นตราประจำ�ตำ�แหน่ง
มีอำ�นาจห น้าที่ควบคุม ดูแลก ิจการด ้านพลเรือนท ั่วราชอาณาจักร โดยแ ยกหน่วยงาน
หลักๆ เป็น มหาดไทยฝ่ายเหนือ มหาดไทยฝ่ายพะลำ�พัง มหาดไทยตำ�รวจภูธร มหาดไทยตำ�รวจภูบาล
และยังมี “จตุสดมภ์” หรือ “กรมหลักทั้ง 4” อยู่ในโครงสร้างของฝ่ายพลเรือนด้วย คือ ฝ่ายวัง หรือ
ธรรมาธิบดี ฝ่ายเวียง คือ นครบาลบดี ฝ่ายคลัง คือ โกษาธิบดี และฝ่ายนา คือ เกษตราธิบดี ที่มีการ
แยกหน่วยงานและหน้าที่ย่อยๆ ออกไปอีกในแต่ละฝ่าย เช่น นครบาลบดี แยกเป็นกองตระเวนขวา และ
กองตระเวนซ ้าย เกษตราธิบดี มีฝ ่ายฉ าง ฝ่ายข ้าวเปลือก และห นังสัตว์ และฝ ่ายวัง หรือธรรมาธิบดี แยก
หน่วยงานและหน้าที่ต่างๆ ออกไปถึง 17 ฝ่าย เช่น ฝ่ายวัวนอก ฝ่ายจางวาง ฝ่ายแพทยา โหร คชบาล
ม้าต้น พระอาลักษณ์ และล ูกขุน เป็นต้น
จตุสดมภ์ จึงยังมีลักษณะเป็นองค์กรใหญ่และมีความสำ�คัญอยู่มากในโครงสร้างใหม่
ที่พ ยายามจ ัดแ ยกท หารกับพ ลเรือนออกจ ากก ัน เนื่องจากเป็นอำ�นาจห น้าที่เกี่ยวข้องกับพ ระม หากษัตริย์ วัง
และราชธานีโดยตรง นอกจากน ั้น ยังม ีก ารปรับปรุงให้มีกรมวังโดยมีภ าระห น้าที่เกี่ยวกับ “กฎหมาย” ด้วย
เพราะฝ ่ายว ังม ี “สมณช พี ราหมณ์” เข้าม าท ำ�หน้าทีเ่กี่ยวก ับก ฎหมาย คือ นำ�เอาค วามร ูใ้น “พระธ รรมศาสตร์”
มาจ ัดท ำ�กฎหมาย การต ัดสินค ดีค วาม และย ังเป็นผ ู้ป ระกอบพ ิธีกรรมต ่างๆ และท ำ�หน้าที่โหร พราหมณ์บ าง
คนไดร้ ับต ำ�แหน่ง “มหาราชค รู” เป็นต ำ�แหน่งป ระมุขฝ ่ายต ุลาการ (ศักดินา 10,000 ไร่) และจ ตุสดมภฝ์ ่ายว ัง
ได้รับบรรดาศักดิ์เป็น “ธรร มาธิกรณาธิบดี” แปลว ่า ผู้เป็นใหญ่ในการว ินิจฉัยคดีพ ิพาทให้เป็นธรรม (หลวง
วิจิตรวาทการ 2493: 85-66)