Page 30 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 30
5-20 การเมืองการปกครองไทย
พลเรือนแ ต่อ ย่างใดด ้วย
อย่างไรก ็ตาม ระหว่าง พ.ศ. 1894–1990 ก็ได้มีการต ราก ฎหมายข ึ้นราว 10 ฉบับ ที่มีส่วนส ่งเสริม
การสร้างสถาบันทางการเมืองในยุคต้นของอยุธยา ได้แก่ หน่ึง กฎหมายลักษณะพยาน พ.ศ. 1894 สอง
กฎหมายลักษณะอาญาหลวง พ.ศ. 1895 สาม กฎหมายลักษณะรับฟ้อง พ.ศ. 1899 สี่ กฎหมายลักษณะ
ลักพา พ.ศ. 1899 หา้ กฎหมายล ักษณะอ าญาราษฎร์ พ.ศ. 1901 หก กฎหมายล ักษณะโจร พ.ศ. 1903 เจ็ด
กฎหมายลักษณะเบ็ดเสร็จว ่าด ้วยที่ดิน พ.ศ. 1903 แปด กฎหมายล ักษณะผัวเมีย พ.ศ. 1904 เกา้ กฎหมาย
ลักษณะผัวเมีย (เพิ่มเติม) พ.ศ. 1905 และสิบ กฎหมายลักษณะโจรว่าด้วยสมโจร พ.ศ. 1910 (มาตยา
อิงคน ารถ ทวี ทองส ว่าง และว ัฒนา รอดสำ�อาง 2527: 55)
2. โครงสรา้ ง และส ถาบันท างการเมอื งย ุคอ ทิ ธิพลข องล ัทธพิ ราหมณ์: รวมศ ูนยอ์ ำ�นาจม าอย่ทู ่ี
สถาบนั กษัตรยิ ์
งานศ ึกษาห ลายเล่มอ ้างว ่า ยุคท ี่แ นวความคิดและหลักการของศ าสนาพ ราหมณ์เข้าม ามีอ ิทธิพลต่อ
“กรงุ เทพท ราว ดศี รอี ยธุ ยา” อยา่ งเตม็ ท ใี่ นเกอื บท กุ ด า้ น กค็ อื หลงั พ.ศ. 1974 ดว้ ยเหตผุ ลแ ละส าเหตทุ สี่ �ำ คญั ๆ
หลายด ้าน ที่ส ามารถสรุปได้ด ังนี้ คือ (Likhit Dhiravegin, 1958; ก ระมล ทองธ รรมชาติและคณะ 2521)
1. ความจำ�เป็นและการเปล่ยี นแปลงภ ายในส ังคมอยธุ ยา
1.1 ด้านสังคม อยุธยามีผู้คนอาศัยอยู่ราว 400,000 ครัวเรือน ในขณะที่สุโขทัยมีจำ�นวน
น้อยก ว่าม าก ซึ่งท ำ�ให้อยุธยาม ีขนาดใหญ่โต หรือใหญ่โตกว่ากรุงปารีส และล อนดอนในยุคเดียวกัน (มาน ิจ
ชุมสาย 2515: 33-34)
ผู้คนท ีอ่ าศัยอ ยูใ่นก รุงศ รีอยุธยาค ่อนข ้างม คี วามห ลากห ลายท างเชื้อช าตแิ ละเผ่าพ ันธุ์ ทั้งคนท ี่
เกิดแ ละอ าศยั อ ยูใ่นก รุงศ รีอยุธยาห รอื ม บี รรพบุรุษเป็นค นก รุงศ รีอยธุ ยา และท ีอ่ พยพเข้าม าอ ยกู่ รุงศ รอี ยธุ ยา
ในภายห ลัง และบางส่วนก็ถูกก วาดต้อนเข้าม า หรือบางคนบ างก ลุ่มก็เข้ามารับร าชการ บางคนบ างกลุ่มก ็เข้า
มาค้าขายในกรุงศ รีอยุธยา ซึ่งอ าจมีภ าษา ความคิด ความเชื่อ และว ัฒนธรรมไม่แตกต่างก ันม ากน ัก รวมท ั้ง
การใชภ้ าษาต ระกูลไทย-ลาว เป็นภ าษาก ลางในก ารต ิดต่อค ้าขาย (มตชิ น 1 กรกฎาคม 2553: 20) นอกจากน ั้น
ยังมี “สมณชีพราหมณ์” หรือ พราหมณ์โหราจารย์ ผู้มีบทบาทสำ�คัญในการประกอบพิธีกรรมทางศาสนา
อีกจำ�นวนหนึ่ง บางส่วนถูก “กวาดต้อน” มาจากขอม หลังจากตีนครธมได้ในราว พ.ศ. 1974–1995 และ
ในเวลาต่อมาก็มี “คนต่างชาติ” ที่มีความแตกต่างกันทางภาษา ตลอดจนวัฒนธรรม ค่านิยม ความคิด
ความเชื่อ เข้าม าพำ�นักอ ยู่ในก รุงศรีอยุธยาด้วย จากย ุโรปก ็มีชาวอ ังกฤษ ฝรั่งเศส โปรตุเกส ฮอลันดา และ
กรีก จากต ะวันออกกลางก็ม ีอ ิหร่าน และอ าหรับอ ื่นๆ จากเอเชีย และเมืองใกล้เคียง หรือเมืองส ำ�คัญๆ ใน
แถบน ี้ ก็ม ี มอญ ลาว เขมร จีน มาเลย์ ญวน ญี่ปุ่น และอื่นๆ (จันทร์ฉาย ภัคอ ธิคม 2528)
กลุ่มคนต่างๆ ที่กล่าวถึงข้างต้น ก็มีสถานภาพทางสังคม (social status) แตกต่างกัน แต่
ส่วนใหญ่หรือเกือบทั้งหมดตกอยู่ในฐานะ “ไพร่ฟ้าข้าแผ่นดิน” หรือถ้าในมิติการเมืองการปกครองก็คือ