Page 31 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 31
โครงสร้าง และสถาบันการเมืองการปกครองของไทย 5-21
“ผู้อ ยู่ใต้ก ารป กครอง” (the ruled) และเมื่อน ำ�เอาแ นวคิดแ ละห ลักก ารข องศ าสนาพ ราหมณ์ม าสร ้างส ถาบัน
กษัตริย์และจัดวางโครงสร้างก ารเมืองการปกครองอย่างจริงจัง ไพร่ฟ ้าข้าแผ่นดิน ได้ถ ูกกำ�หนดสถานภาพ
และบทบาทหน้าที่ไว้อย่างชัดเจน คือ เป็นผู้รับใช้มูลนาย และรัฐ ส่วนที่ตกเป็นทาส ด้วยเหตุผลต่างๆ คือ
ทั้งจากการเป็นเชลยส งคราม และก ารข ายตัวเป็นท าส และก ารเป็นล ูกท าส และเหตุผ ลอ ื่นๆ ก็จ ะม ีสถานะที่
ตํ่าต้อยม ากท ี่สุด เพราะจ ะต ้องก ลายเป็น “ทรัพย์สิน” ของนาย
1.2 ในด า้ นเศรษฐกจิ พื้นฐ านส ำ�คัญค ือ การเกษตรก รรม ทำ�นา ทำ�ไร่ ทำ�สวน และก ารป ระมง
เพราะมีแหล่งนํ้าสายสำ�คัญและดินอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก นอกจากปลูกข้าวและผลไม้ต่างๆ
แล้วก็ปลูกพริกไทย ฝ้าย หมาก และมะพร้าว แต่ยังเป็นปลูกเพื่อการยังชีพและพึ่งพาธรรมชาติเป็นหลัก
ความส ำ�คัญก ็ค ือ การม ีคนเป็นจ ำ�นวนม ากในเขตก รุงศรีอยุธยา จึงจ ำ�เป็นท ี่จ ะต้องข ยายพื้นที่ก ารเพาะปลูก
ให้มากขึ้น จึงจะได้ผลผลิตเพียงพอในการเลี้ยงดูผู้คน ซึ่งรัฐก็ได้ช่วยสนับสนุนด้วยการลดภาษีอากรให้กับ
ผู้ที่พึ่งข ยายพ ื้นที่เพาะปลูก และผ ู้ท ี่ไปท ำ�เกษตรในที่ดินที่มีผ ู้ทิ้งร ้างไว้
นอกจากน ั้นก ย็ ังม ผี ู้ป ระกอบอ าชีพด ้านก ารช ่าง หัตถกรรม และอ ุตสาหกรรมในร ะดับพ ื้นฐ าน
อีกจ ำ�นวนห นึ่ง เพราะภ ายในร าชธานีม ีถ นนห ลายส ายท ี่ป ระกอบด ้วยร ้านค ้า และย ่านก ารค ้าต ่างๆ แล้วก ็ย ังม ี
ช่างห ลายประเภทท ี่ร ับทำ�สิ่งต ่างๆ (มาต ย า อิงค นาร ถ ทวี ทองสว่าง และว ัฒนา รอดสำ�อางค์ 2524: 50) ใน
ราชสำ�นักเองก็ม ีการจ ัดตั้ง “ช่างสิบหมู่” ไว้ในส ังกัดหน่วยงานท หาร เนื่องจากพ ระมหาก ษัตริย์แ ละเจ้านาย
มักจ ะสร้างว ัด หล่อพระพุทธรูป ปฏิสังขรณ์ศ าสนส ถาน ตามค วามเชื่อศ รัทธาในพ ระพุทธศาสนา ซึ่งจำ�เป็น
ต้องม ชี า่ งห รือผ เู้ ชีย่ วชาญง านฝ ีมอื ห ลายป ระเภทเปน็ จ �ำ นวนม าก นอกจากน ั้นย ังม ธี รรมเนียมก ารถ วายส ิง่ ของ
ต่างๆ รวมทั้งท ี่ดิน ผู้คน หรือ “ไพร่” สำ�หรับด ูแลวัดและพระภ ิกษุสงฆ์อ ีกด ้วย (หลวงว ิจิตรวาทการ 2493;
สุภาพ รรณ ณ บางช ้าง 2535: 283-288)
ด้านก ารค ้าขายก ับภ ายนอก ส่วนส ำ�คัญก ็ค ือ การค ้าส ำ�เภาก ับจ ีน โดยเฉพาะพ ระม หาก ษัตริย์
และเจ้านาย ที่ได้เป็นผลกำ�ไร รวมทั้งได้สินค้าหรือสิ่งของที่ไม่มีในกรุงศรีอยุธยากลับเข้ามา ส่วนที่พ่อค้า
ต่างช าติ เช่น จีน ญี่ปุ่น อินเดีย และช วา เป็นต้น เข้าม าค ้าขายก ม็ เีป็นจ ำ�นวนม าก และย ังม ลี ักษณะก ารค ้าขาย
ที่เป็นอ ิสระระหว่างผู้ซ ื้อ ผู้ผ ลิต และผู้ขาย โดยไม่ต้องผ่านพระค ลังสินค้า หรือการผ ูกขาดข องร ัฐ เพียงแต่
ต้องเสียภ าษีให้ก ับรัฐ (พิสิฐ เจริญวงศ์ คงเดช ประพ ัฒน์ท อง และศ ุภรัตน์ เลิศพาณิชย์กุล 2527)
1.3 ด้านการเมืองการปกครอง อาจประมวลได้ 2 สาเหตุสำ�คัญ ประกอบกัน คือ การมี
หลาย “ศูนย์กลางอำ�นาจ” จนเกิดการจำ�กัดอำ�นาจในราชธานี กับการขาดเอกภาพทั้งในราชธานีและใน
ราชอาณาเขตจนมีปัญหาทั้งภายในราชอาณาจักรและการถูกรุกรานจากอาณาจักรใกล้เคียง (ประมวลจาก
Likhit Dhiravegin, 1985)
ภายใตโ้ ครงสรา้ งเดมิ ข องก รงุ ศ รอี ยธุ ยา เมอื งพ ระยาม หานครห รอื เมอื งป ระเทศราชม คี วามเปน็
อิสระเกือบเต็มท ี่ในก ารป กครองต นเอง เพราะเจ้าเมืองเก่าแ ละร าชวงศ์เดิมย ังเป็นผ ู้ป กครองส ืบต ่อก ัน เหตุน ี้
ถ้าราชธานีเกิด “การผลัดแผ่นดิน” และถ้าพระมหากษัตริย์องค์ใหม่ไม่เข้มแข็ง หรือเกิดปัญหาการแย่งชิง
อำ�นาจก ัน ก็มักจะเกิดก าร “แข็งเมือง” หรือแยกต ัวเป็นอิสระโดยท ันที เมืองล ูกหลวงแ ละห ลานหลวงเอง ก็
มักจ ะม ีอ ิสระในก ารปกครองและมักจ ะส ร้างฐานอ ำ�นาจทางการเมืองแข่งขันก ับร าชธานี เพราะผู้ป กครองเป็น