Page 26 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 26
5-16 การเมืองการปกครองไทย
เร่ืองที่ 5.2.1 โครงสร้าง และส ถาบนั ทางการเมอื งการป กครอง
ของไ ทยยคุ ก่อนปฏริ ปู การป กครองสมยั รชั กาลท ่ี 5
แห่งก รุงรัตนโกสนิ ทร์
โครงสร้าง และสถาบันทางการเมืองการปกครองของไทยในช่วงก่อนที่จะมีการปฏิรูปการปกครอง
ในส มัยรัชกาลที่ 5 แห่งก รุงร ัตนโกสินทร์ อาจจ ะแยกออกได้ เป็น 4 ยุคส มัยกว้างๆ คือ ยุคสุโขทัย ยุคอ ยุธยา
ตอนต้น อยุธยาในยุคปฏิรูปการปกครองสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ และยุครัตนโกสินทร์ตอนต้น
โดยแ ต่ละย ุคต ่างก ม็ รี ูปแ บบแ ละล ักษณะส ำ�คัญแ ตกต ่างก ัน มรี ะดับข องก ารส ร้างส ถาบันต ่างก ัน โดยส ามารถ
แยกพิจารณาส าระส ำ�คัญในแต่ละยุคได้ด ังนี้ คือ
1. ยคุ ส โุ ขทัย
อาณาจักรสุโขทัยเริ่มต้นเข้มแข็งขึ้นในฐานะรัฐเล็กๆ หลังจากอิทธิพลของขอมได้เสื่อมลง ในราว
พ.ศ. 1780–1781 (Likhit Dhiravegin, 1985: 3; พิสิฐ เจริญวงศ์ คงเดช ประพัฒน์ทอง และศุภรัตน์
เลศิ พ าณชิ ยก์ ลุ 2527: 51-109) ลกั ษณะส �ำ คญั ท างส งั คม คอื มคี วามเปน็ “ครอบครวั ข นาดใหญ”่ และม หี ลายๆ
ครอบครัวท ี่ม ีค วามส ัมพันธ์ทางเครือญาติม าอ ยู่ร วมกัน ให้ความสำ�คัญกับเพศช าย คือ “พ่อ” หรือผ ู้อ าวุโส
ที่มีค วามร ู้ค วามส ามารถในหลายๆ ด้าน ส่วนลักษณะส ำ�คัญทางเศรษฐกิจ ก็คือ เกษตรกรรม คือก ารท ำ�นา
ทำ�สวน และประมงเป็นอาชีพห ลัก การทำ�เครื่องชามสังคโลก และการค้าเป็นส่วนป ระกอบ แต่คาดว่าน ่าจะ
เป็นการผ ลิตเพื่อก ารด ำ�รงช ีพ หรือ “พอเพียง” ต่อก ารด ำ�รงช ีวิตข องค นในส ังคมม ากกว่าจ ะเป็นไปเพื่อก ารค ้า
เพราะส งั คมย งั ไมใ่ หญโ่ ตซ บั ซ อ้ น และก ารต ดิ ตอ่ ค า้ ขายก บั ภ ายนอกก ม็ นี อ้ ย และย งั อ ยใู่ นภ าวะ “สรา้ งบ า้ นแ ปง
เมือง” คือ การทำ�ให้ม ีบ ้านเรือน ที่อยู่อ าศัย แหล่งทำ�มาห ากิน ถนนห นทาง และค วามสะดวกในก ารคมนาคม
ทางนํ้า และอ ื่นๆ รวมทั้ง “ตระพัง” หรือส ระนํ้า หรือแ หล่งเก็บกักนํ้าไว้ใช้ท ี่มีอยู่หลายแห่งในเขตเมืองส ุโขทัย
ในด า้ นก ารป กครองแ ละก ารบ รหิ ารง านข องร ฐั หรอื อ าณาจกั ร ความส �ำ คญั ก อ็ ยทู่ ตี่ วั ผปู้ กครอง คอื ผทู้ ี่
ไดร้ บั ก ารย กยอ่ งแ ละย อมรบั ว า่ เปน็ “พอ่ ” ของค นในส งั คม ทมี่ คี �ำ เรยี กเฉพาะ คอื “พอ่ ขนุ ” หรอื เปน็ “กษตั รยิ ท์ ี่
เปน็ พ อ่ ข องค นในส งั คม” (patriarchal king) (Likhit Dhiravegin, 1985: 3) หรอื ท มี่ คี วามเขา้ ใจก นั แ พรห่ ลาย
ในยุคป ัจจุบันว่าเป็นร ูปแ บบ “พ่อปกครองล ูก” (Paternalism) บทบาทห น้าที่ทั้งก ารป กครองแ ละก ารบ ริหาร
ต่างๆ ที่สำ�คัญจึงอยู่ที่ตัว “พ่อขุน” รวมทั้งการระดมผู้คนในสังคมเข้าทำ�การสู้รบ หรือทำ�สงครามป้องกัน
อาณาจักร และ/หรือเข้าไปย ึดค รองเมืองและอาณาจักรอ ื่นท ี่โดดเด่นท ี่สุดในยุคน ี้ก็คือ ช่วงการปกครองของ
“พ่อขุนรามคำ�แหง” ระหว่าง พ.ศ. 1819–1860 เป็นการสืบทอดการปกครองเพียงราชวงศ์เดียว และเป็น
ร ูปแ บบเดียวกันก ับร าชวงศ์อาหมในภ าคตะวันออกของอ ินเดีย (I. S. Mumtaza Khatern, 1984: 1-8)
ผูช้ ่วยเหลือในด ้านก ารป กครอง กค็ ือ บุคคลในค รอบครัวข องพ ่อขุน ทีพ่ ่อขุนเลือกใหเ้ข้าม าท ำ�หน้าที่