Page 22 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 22
5-12 การเมืองการปกครองไทย
ภายใต้โครงสร้างของร ะบบการเมืองไทย สถาบันท างการเมืองต่างๆ ล้วนมีบ ทบาทแ ละหน้าที่เฉพาะ
เหตุนี้ภายในร ะบบก ารเมืองหรือโพลิต ี้ สถาบันก ารเมืองต่างๆ จึงทำ�หน้าที่เฉพาะด้านข องแ ต่ละสถาบัน และ
ทำ�งานเชื่อมโยงต ่อกันและกันจ นก ่อเกิดเป็นส ่วนน ำ�ออก
3. ตวั แ บบร ะบบการเมอื ง โครงสรา้ ง และส ถาบนั ท างการเมอื งกบั ห น้าทด่ี ้านต่างๆ
จากต ัวแบบข องระบบก ารเมืองไทยต ัวแบบท ี่ 1 และ 2 ดังกล่าวม าข ้างต้น ในตัวแ บบที่ 3 จะแ สดง
ให้เห็นก ารท ำ�หน้าที่ทางด ้านต่างๆ (functions) ของโครงสร้าง และส ถาบันท างการเมืองต ่างๆ ภายในระบบ
การเมืองไทย (สยาม) ที่ส ามารถเขียนอ อกม าเป็นภาพที่ 5.3 ดังต ่อไปนี้ คือ
ไทย (สยาม) กัมพูชา
สภาพแวดล้อมภายใน
ส่วนนำ�เข้าแ ละ
หน้าที่ด ้านระบบ ส่วนน ำ�ออก
การข ัดเกลาทางส ังคม การเลือกสรร ระดับน านาชาติ
การสื่อสาร
หน้าที่เชิงกระบวนการของระบบการเมือง
ส่วนนำ�เข้า
ส่วนนำ�ออก
“ผลลัพธ์”
การนำ�นโยบายไ ป
การเรียกร้อง การรวบรวม การจัดท ำ� ปฏิบัติแ ละก าร
ผลป ระโยชน์ ผลประโยชน์ นโยบาย ตัดสินพิพาท
ผลย้อนก ลับ
ภาพท ี่ 5.3 ตัวแบบระบบก ารเมือง โครงสร้าง และสถาบันท างการเมืองไทยกับหน้าที่ด้านต่างๆ
ท่ีมา: ป รับปรุงจาก Gabriel A. Almond and G. Bingham Powell, Jr. (general editors). Comparative Politics Today: A
World View. Boston: Little Brown and Company, 1984, p. 7.