Page 24 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 24
5-14 การเมืองการปกครองไทย
ตอนท ่ี 5.2
โครงสรา้ ง และส ถาบันทางการเมืองการป กครองข องไทย
โปรดอ ่านแผนการส อนป ระจำ�ตอนที่ 5.2 แล้วจึงศึกษาเนื้อหาส าระ พร้อมปฏิบัติกิจกรรมในแต่ละเรื่อง
หวั เรือ่ ง
เรื่องท ี่ 5.2.1 โครงสร้าง และสถาบันทางการเมืองการปกครองของไทยยุคก่อนปฏิรูป
ก ารปกครอง สมัยรัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
เรื่องที่ 5.2.2 โครงสร้าง และสถาบันท างการเมืองก ารปกครองข องไทย สมัยรัชกาลท ี่ 5 แห่ง
กรุงรัตนโกสินทร์ถึงการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475
เรื่องท ี่ 5.2.3 โครงสรา้ งและส ถาบนั ท างการเมอื งก ารป กครองข องไทยร ะหวา่ งพ.ศ.2475-2516
เรื่องที่ 5.2.4 โครงสรา้ งและส ถาบนั ท างการเมอื งก ารป กครองข องไทยร ะหวา่ งพ.ศ.2516-2554
แนวคิด
1. โครงสร้าง และสถาบันทางการเมืองการปกครองของไทยในยุคสุโขทัย เป็นแบบจารีต
ประเพณที ี่มาจ ากค า่ น ิยมเชิงว ฒั นธรรมท ีย่ ึดถือบ ิดา หรอื “พ่อป กครองล กู ” และค วามเชื่อ
ศรัทธาในพุทธศาสนาที่มีอิทธิพลต่อสังคมในยุคนี้ ในยุคอยุธยาอิทธิพลของความคิด
ความเชื่อจากศ าสนาพ ราหมณ์ที่ร ับมาจ ากข อม ได้ส ่งผ ลให้เกิดการปฏิรูปโครงสร้าง และ
สถาบนั ท างการเมอื งก ารป กครองค รัง้ ส ำ�คัญ ตั้งแตส่ มยั ส มเด็จพ ระบรมไตรโลกน าถ ทีเ่ริ่ม
มีแ บบแผนมากขึ้น และมีก ารส ร้างส ถาบันพระม หากษัตริย์ให้ส ูงส่งข ึ้นในฐ านะส มมติเทพ
และเป็นศ ูนย์ร วมข องสังคม
2. ในสมัยรัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ อิทธิพลของประเทศตะวันตกที่เข้ามาพร้อม
กับลัทธิจ ักรวรรดินิยม ทำ�ให้ช นชั้นผ ู้ป กครองข องไทยต ้องเริ่มป รับเปลี่ยนม าตั้งแต่ส มัย
รัชกาลที่ 4 ได้ส่งผลให้เกิดการปฏิรูปโครงสร้าง และสถาบันทางการเมืองการปกครอง
ครั้งใหญ่ ระหว่าง พ.ศ. 2435–2453 ทั้งการเกิดระบบราชการส่วนกลาง ส่วนภ ูมิภาค และ
ท้องถิ่น ตลอดจนการส่งเสริมอำ�นาจของสถาบันพระมหากษัตริย์ที่สามารถปกครองได้
ทั่วร าชอ าณาจักร ผ่านกลไกร ะบบราชการส มัยใหม่ท ี่ส ร้างขึ้น