Page 19 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 19

โครงสร้าง และสถาบันการเมืองการปกครองของไทย 5-9

ระบบก​ ารเมือง​อย่างม​ าก และ​อีกด​ ้านห​ นึ่ง เมื่อร​ ะบบก​ ารเมือง​ตัดสินใ​จ​จัดท​ ำ�​นโยบายอ​ อก​สู่​การป​ ฏิบัติ หรือ​
เกิด “ส่วน​นำ�​ออกจ​ ากร​ ะบบ” (outputs) แล้ว ก็ม​ ัก​จะ​เกิด​การ​แปรเ​ปลี่ยน​ไป​สู่ก​ าร​เป็น “ส่วน​นำ�​เข้า​สู่​ระบบ”
ได้อ​ ีก เมื่อก​ าร​เรียกร​ ้อง​ยัง​ไม่เ​กิด​ผล​เป็น​ที่พ​ อใจข​ องบ​ ุคคล​หรือก​ ลุ่มค​ นท​ ี่​เรียกร​ ้อง

       อิทธิพล​ระหว่างร​ ะบบก​ ารเมือง​กับ​สภาพ​แวดล้อม อาจน​ ำ�​ไปส​ ู่​ผลลัพธ์ต​ ่างๆ มากมาย​หลายล​ ักษณะ
และห​ ลายร​ ะดับใ​นข​ ั้นท​ ีร่​ ุนแรงม​ าก กค็​ ือ การล​ ้มร​ ะบบก​ ารเมืองเ​ดิมแ​ ล้วม​ กี​ ารส​ ร้างร​ ะบบก​ ารเมืองใ​หมข่​ ึ้น และ​
อาจ​เกิด​การ​เปลี่ยนแปลง​อย่าง​รุนแรง​หรือ​ใน​เชิง​การ​ปฏิวัติ (revolution) ใน​ทุก​ภาค​ส่วน​ของ​สังคม​ได้ หรือ​
แม้แต่ก​ ารท​ ำ�​สงครามแ​ ละก​ ารเ​ข้าไปย​ ึด​ครองส​ ังคม​ภายนอก

             หลังจ​ าก​ศึกษาเ​นื้อหา​สาระ​เรื่อง​ที่ 5.1.1 แล้ว โปรดป​ ฏิบัติ​กิจกรรม 5.1.1
                      ในแ​ นว​การ​ศึกษาห​ น่วยท​ ี่ 5 ตอนท​ ี่ 5.1 เรื่องท​ ี่ 5.1.1

เร่ืองท​ ี่ 5.1.2 	ตวั แ​ บบส​ �ำ คญั เ​กี่ยวก​ ับ​ระบบ โครงสรา้ ง
	 และส​ ถาบนั ​ทางการ​เมือง

       แก​เบ​รี​ยล เอ. แอ​ลมอนด์ กับ จี. บิง​แฮม เพา​เวลล์ (Gabriel A. Almond and G. Bingham
Powell, Jr. 1984: 4-7) ได้​สร้าง​ตัวแ​ บบ​ที่ม​ ีค​ วาม​คลาส​สิก​เกี่ยว​กับร​ ะบบ โครงสร้าง และ​สถาบัน​ทางการ​เมือง​
ไว้ ในเ​รื่อง​ที่ 5.1.2 นี้ จึงน​ ำ�​มาเ​สนอ​ไว้ โดย​มี 3 ตัว​แบบท​ ี่เ​กี่ยวข้องส​ ัมพันธ์​กัน คือ ตัวแ​ บบ “ระบบ​การเมือง​
และ​สภาพแ​ วดล้อมต​ ่างๆ ของร​ ะบบก​ ารเมือง” ตัว​แบบ “ระบบ​การเมืองก​ ับ​โครงสร้าง และส​ ถาบัน​ทางการ​
เมือง​ต่างๆ” และต​ ัว​แบบ “ระบบ​การเมือง​กับ​การท​ ำ�​หน้าที่ท​ าง​ด้าน​ต่างๆ” ดังนี้ คือ

1. 	ตวั แ​ บบ​ระบบก​ ารเมอื ง​กับ​สภาพ​แวดล้อม​ทาง​ด้าน​ต่างๆ ของ​ระบบก​ ารเมือง

       ระบบก​ ารเมือง ปรากฏ​อยู่​ใน​ระบบแ​ ละโ​ครงสร้างข​ อง​สังคมแ​ ละส​ ภาพแ​ วด​ล้อ​มอื่นๆ รอบๆ สังคม
โดยต​ ่างก​ ม็​ อี​ ิทธิพลใ​นด​ ้านต​ ่างๆ ระหว่างก​ ัน ระบบก​ ารเมืองร​ ับเ​อา “ส่วนน​ ำ�​เข้า” (inputs) ทีเ่​ป็นค​ วามต​ ้องการ​
หรือ​การ​เรียก​ร้อง (demands) และ​การ​สนับสนุน (supports) มา​จาก​สภาพ​แวดล้อม และ​พยายาม​ทำ�การ​
ตัดสิน​ใจ​เพื่อ​กำ�หนด​แนวทาง​การ​สนอง​ตอบ​เป็น “ส่วน​นำ�​ออก” (outputs) ออก​มา​จาก​ระบบ​การเมือง​หรือ​
โพล​ ิต​ ี้ (Polity) ที่ห​ มายถ​ ึง​ส่วนข​ อง​องค์กรท​ างการเ​มือง​ภายใน​สังคม

       สมมติ​ว่า เป็น​ระบบก​ ารเมืองใ​น​สังคมไ​ทย (สยาม) ก็​สา​มาร​ ถเ​ขียนต​ ัวแ​ บบน​ ี้​ออกม​ าเ​ป็นภ​ าพ​ที่ 5.1
ได้ด​ ังนี้ คือ
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24