Page 21 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 21
โครงสร้าง และสถาบันการเมืองการปกครองของไทย 5-11
ก็เกิดส งครามและการเข้าไปย ึดค รอง และ/หรือการท ำ�สนธิส ัญญาต ่างๆ เพื่อค วามร ่วมมือหรือการต กลงกัน
ในขอบเขตและร ะดับความส ัมพันธ์ระหว่างกันเหล่านี้เป็นต้น
2. ตัวแ บบร ะบบก ารเมอื งก บั โครงสรา้ ง และส ถาบนั ท างการเมอื งตา่ ง ๆ
ภายในโพลิตี้ห รือระบบก ารเมืองประกอบด้วยโครงสร้าง และส ถาบันทางการเมืองหลายสถาบัน ยิ่ง
เป็นระบบการเมืองท ี่ม ีความทันส มัย (Modernization) ก็ย ิ่งม ีโครงสร้างซับซ ้อน และม ีส ถาบันทางการเมือง
หลากห ลาย เช่น กลุ่มผ ลป ระโยชน์ (interest groups) พรรคการเมือง (political parties) ฝ่ายน ิติบัญญัติ
(legislatures) ฝ่ายบ ริหาร (executives) ระบบร าชการ (bureaucracies) และศ าล (courts) เป็นต้น
ในก รณีข องร ะบบก ารเมืองไทย (สยาม) ก็อ าจเขียนต ัวแบบร ะบบก ารเมือง โครงสร้าง และส ถาบัน
ทางการเมืองได้ดังนี้ คือ
อังกฤษ กัมพูชา
ไทย (สยาม)
สภาพแวดล้อมภ ายใน
สภาพแวดล้อม ส่วนน ำ�เข้า พรรคการเมือง รฝะบ่ายบบรารชิหการาร ส่วนน ำ�ออก สภาพแวดล้อม
นานาชาติ กลุ่มประโยชน์ นานาชาติ
ฝ่ายน ิติบัญญัติ ศาล
ระบบการเมือง
สภาพแวดล้อมภ ายใน
อินโดนีเซีย ออสเตรเลีย
ภาพที่ 5.2 ระบบการเมือง โครงสร้าง และส ถาบนั ทางการเมอื งไ ทยก ับส ภาพแวดลอ้ ม
ทม่ี า: ป รับปรุงจาก Gabriel A. Almond and G. Bingham Powell, Jr., General Editors. Comparative Politics Today: A
World View. Boston: Little Brown and Company. 1984, p. 6.