Page 17 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 17

โครงสร้าง และสถาบันการเมืองการปกครองของไทย 5-7

อาจท​ ำ�​หน้าที่​เฉพาะ​ของแ​ ต่ละ​ส่วน มิติ​ที่ส​ อง ความเ​กี่ยวข้องเ​ชื่อม​โยง​ของ​ส่วน​ต่างๆ เข้า​ด้วยก​ ัน ทั้งใ​นด​ ้าน​
การ​ทำ�งานห​ รือ​ทำ�​หน้าที่​การ​จัด​องค์กร​และ​ด้าน​วัตถุประสงค์ จนก​ ลาย​เป็นการ​ร่วม​มือ​กัน​ทำ�งานเ​พื่อ​นำ�​ไป​สู่​
วตั ถปุ ระสงคร​์ ว่ มก​ นั ห​ รอื อ​ ยา่ งเ​ดยี วกนั และม​ ติ ท​ิ สี​่ าม ความเ​ปน็ ส​ ว่ นท​ ัง้ หมดจ​ ากท​ กุ ส​ ว่ นป​ ระก​ อบย​ อ่ ยๆ ระบบ​
และ​โครงสร้างจ​ ึงค​ ่อน​ข้างม​ ี​ความซ​ ับ​ซ้อน​อยู่​ภายใน และถ​ ้า​มี​ส่วนย​ ่อยๆ อยู่ห​ ลาก​หลาย​มากเ​ท่าใดร​ ะดับ​ของ​
ความ​ซับซ​ ้อน​หรือ​การเ​ชื่อมโ​ยง​กันข​ องส​ ่วน​ต่างๆ ก็ย​ ิ่งม​ ี​ความ​ซับซ​ ้อนม​ ากย​ ิ่งข​ ึ้น

       ระบบ โครงสร้าง และ​สถาบัน มี​ความ​เกี่ยวข้องก​ ัน​อย่าง​ใกล้​ชิด ถ้าพ​ ิจารณา​ในภ​ าพ​รวมก​ ็อ​ าจมอ​ ง​
เป็น​สิ่ง​เดียวกัน แต่​ถ้าพ​ ิจารณา​แยก​มิติ​ด้าน​การ​ทำ�งาน​หรือ​การ​ทำ�​หน้าที่ การ​เชื่อม​โยง​กันข​ อง​ส่วน​ย่อยๆ และ​
วัตถุประสงค์ใ​นก​ ารท​ ำ�งานข​ องแ​ ต่ละส​ ่วนแ​ ละข​ องส​ ่วนร​ วมท​ ั้งหมดก​ ็จ​ ะแ​ ยกค​ วามเ​ป็นเ​ฉพาะด​ ้านอ​ อกไ​ด้ โดย​
เฉพาะอ​ ย่างย​ ิ่ง คือ “การเ​ป็นส​ ถาบัน” เกณฑ์ส​ ำ�คัญใ​นก​ ารว​ ัดค​ วามเ​ป็นส​ ถาบัน คือ การด​ ำ�รงอ​ ยู่อ​ ย่างต​ ่อเ​นื่อง​
ยาวนาน​ของ​องค์กร​ที่​มี​การ​จัด​ตั้ง​ขึ้น ความ​ยาวนาน​ดัง​กล่าว​อาจ​ไม่​ได้​ยึด​ติด​อยู่​กับ​ช่วง​อายุ​ของ​บุคคล
(generation) เพราะแ​ มบ้​ ุคคลจ​ ะห​ มดอ​ ายุขัยห​ รือส​ ิ้นช​ ีวิตไ​ปแ​ ล้ว “สถาบัน” กย็​ ังค​ งด​ ำ�รงอ​ ยูไ่​ดต้​ ่อไ​ป โดยก​ าร​
สืบทอด​ของค​ นร​ ุ่นต​ ่อๆ ไป เช่น สถาบันค​ รอบครัว สถาบันก​ าร​ศึกษา และ​สถาบันศ​ าสนา เป็นต้น

       ระบบก​ ารเมือง โครงสร้างท​ างการ​เมือง​และส​ ถาบันท​ างการเ​มือง ก็​มีล​ ักษณะเ​ช่นเ​ดียวกัน คือ การ​
มี​ส่วน​ต่างๆ ซึ่งอ​ าจ​หมายถ​ ึงอ​ งค์กรห​ รือ​หน่วย​งานท​ างการเ​มือง ที่​มี​บทบาท​หน้าที่เ​กี่ยว​กับ​การท​ ำ�งานท​ างการ​
เมือง หรือ​การ​ตัดสิน​ใจใ​นด​ ้าน​ต่างๆ ตามข​ อบเขต​ของ​อำ�นาจ​ที่​มี​อยู่ เพื่อใ​ห้บ​ รรลุ​วัตถุประสงค์​ทางการเ​มือง​
ตามแ​ นวทางท​ างการเ​มือง หรือแ​ นวน​ โยบายต​ ่างๆ ทีม่​ กี​ ารก​ ำ�หนดไ​ว้ การท​ ำ�งานข​ องอ​ งค์กรท​ างการเ​มืองย​ ่อยๆ
เหล่า​นี้ มี​ความ​เชื่อม​โยงไ​ป​ถึงกัน​และ​กัน โดยอ​ ำ�นาจ​การต​ ัดสิน​ใจอ​ าจ​กระจาย​อยู่ก​ ับส​ ่วนต​ ่างๆ ตามข​ อบเขต​
ที่​กำ�หนด​ไว้ หรือ​อาจ​รวม​ศูนย์​อยู่​ที่​ส่วน​ใด​ส่วน​หนึ่ง​หรือ​บุคคล​ใด​บุคคล​หนึ่ง ตาม​ลักษณะ​เฉพาะ​ของ​ระบบ​
การ​เมือง​นั้นๆ และ​การ​เชื่อม​โยง​กัน​ดัง​กล่าว​นี้ ก็​คือ​ส่วน​ทั้งหมด หรือ​ระบบ​การเมือง​ทั้ง​ระบบ ที่​ทำ�งาน​เพื่อ​
ให้บ​ รรลุว​ ัตถุประสงค์ข​ องร​ ะบบ​การเมืองน​ ั้นๆ

       ระบบแ​ ละโ​ครงสร้าง​ทางการ​เมืองท​ ี่​ดำ�รงอ​ ยู่อ​ ย่าง​ต่อ​เนื่องย​ าวนาน ด้วย​ความ​สามารถใ​นก​ ารท​ ำ�งาน​
หรือ​ทำ�​หน้าที่​ทางการ​เมือง​จน​เป็น​ไป​ตาม​วัตถุประสงค์​ทางการ​เมือง​ที่​มี​ความ​สัมพันธ์​กับ​สาระ​สำ�คัญ​ต่างๆ
ทางส​ ังคมท​ ี่ม​ ีก​ ารเ​ปลี่ยนแปลงไ​ปใ​นแ​ ต่ละช​ ่วงเ​วลาห​ รือย​ ุคส​ มัย จะช​ ่วยก​ ่อเ​กิดค​ วามเ​ป็นส​ ถาบันท​ างการเ​มือง​
ขึ้น สถาบันท​ างการเ​มืองจ​ ึงส​ ัมพันธอ์​ ย่างแ​ ยกไ​ม่อ​ อกก​ ับร​ ะบบแ​ ละโ​ครงสร้างท​ างการเ​มือง และอ​ าจก​ ล่าวไ​ดว้​ ่า
ความ​ซับ​ซ้อน​หรือ​การ​มี​ส่วน​ย่อยๆ หลากห​ ลาย​ภายใน​ระบบ​และ​โครงสร้างท​ างการ​เมือง​ที่​สามารถ​ทำ�​หน้าที่​
ทางการ​เมือง​ได้​อย่าง​มี​ประสิทธิภาพ​และ​ประสิทธิผล หรือ​สามารถ​เผชิญ​กับ​การ​ท้า​ทาย​ใหม่ๆ ที่​เกิด​ขึ้น​ทั้ง​
ในร​ ะบบ​และจ​ าก​สภาพแ​ วดล้อม​ทาง​ด้านต​ ่างๆ ได้ ก็จ​ ะท​ ำ�ให้​การส​ ร้าง​และ​การย​ ก​ระดับ​สถาบัน​ทางการ​เมือง​
ให้ส​ ูงข​ ึ้น

2. 	แนวคิดเ​กีย่ วก​ ับ​ระบบ โครงสร้าง และ​สถาบันท​ างการ​เมอื ง

       แนวคิดท​ ี่​ค่อน​ข้าง​ให้​ภาพช​ ัดเจน​ในก​ าร​ศึกษา​และท​ ำ�ความ​เข้าใจเ​รื่อง​ระบบ โครงสร้าง และ​สถาบัน​
ทางการ​เมือง มี​หลาย​แนวคิด ใน​ที่น​ ี้​จะ​ยก​เอาแ​ นวคิด​ของ​แกเ​บ​รีย​ ล เอ. แอ​ลมอนด์ กับ จี. บิง​แฮม เพา​เวลล์
(Gabriel A. Almond and G. Bingham Powell, Ir, 1984: 2-9) ที่ค​ ่อนข​ ้าง​มี​ความ​คลาสส​ ิก และ​ให้ค​ วาม​
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22