Page 18 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 18

5-8 การเมืองการปกครองไทย

เข้าใจใ​น​ระดับพ​ ื้น​ฐาน​และ​ระดับท​ ี่เ​ป็นท​ ั่วไป (general view) ได้ม​ าน​ ำ�​เสนอ ทั้งส​ องค​ นใ​ห้แ​ นวคิดเ​กี่ยวก​ ับ​
ระบบ ว่า​เป็น​แนวคิด​เชิง​นิเวศ (ecological concept) หรือม​ ี​นัย​สำ�คัญ​ว่า​องค์กร​มี​ปฏิสัมพันธ์​กับ​สภาพ​
แวดล้อม หรือร​ ะบบม​ ีอ​ ิทธิพลต​ ่อ และไ​ด้ร​ ับอ​ ิทธิพล (influenced) จาก​สภาพแ​ วดล้อม และส​ ่วนต​ ่างๆ ภายใน​
ระบบก​ ็ม​ ีป​ ฏิสัมพันธ์ร​ ะหว่างก​ ัน ระบบก​ ารเมืองเ​ป็นส​ ่วนห​ นึ่งข​ องส​ ังคมท​ ี่ก​ ่อเ​กิดข​ ึ้น เพื่อจ​ ัดท​ ำ�​และด​ ำ�เนินก​ าร​
ไปส​ ู่เ​ป้าห​ มายร​ ่วม​กัน (collective goals) ของ​สังคม​โดย​มี​สภาพบ​ ังคับ​หรือ​ระเบียบ (coercion) ให้ค​ น​ต้อง​
ปฏิบัตติ​ าม หรือย​ อมรับอ​ ย่างช​ อบธ​ รรม (legitimate) ดังน​ ั้น นโยบายต​ ่างๆ (policies) ทีร่​ ะบบก​ ารเมืองจ​ ัดท​ ำ�​
ขึ้นจ​ ึง​มี​ความ​ชอบ​ธรรม​ด้วยป​ ัจจัย​สนับสนุน​จากส​ ภาพ​บังคับ​หรือร​ ะเบียบ​และ​การ​กดดัน​ให้เ​กิด​การย​ อมรับ

       เป้า​หมาย​ร่วม​กัน​ของ​สังคม มี​ขอบเขต​ค่อน​ข้าง​กว้าง ระบบ​การเมือง​จึง​ทำ�​หน้าที่​เกี่ยวข้อง​กับ​ชีวิต​
ของท​ ุก​คนใน​สังคม​และส​ ังคม​ทั้งหมด รวมท​ ั้ง​การม​ ี​ปฏิสัมพันธ์ก​ ับ​สังคม​ อื่นๆ หรือเ​กี่ยวข้องก​ ับว​ ิถี​ชีวิตข​ อง​
คน​ตั้งแต่​เกิด​จน​ตาย ระบบ​การเมือง​ทำ�​หน้าที่​หลาก​หลาย​และ​ซับ​ซ้อน​ต่างๆ ได้ ต้อง​มี​สถาบัน​ต่างๆ หรือ​
แอ​ลมอนด์​กับเ​พาเ​วลล์ ให้ค​ วามห​ มายว​ ่า เป็นส​ ิ่งเ​ดียวก​ ับโ​ครงสร้าง ทำ�​หน้าที่ (functions) หรือท​ ำ�​กิจกรรม​
ต่างๆ (activities) เฉพาะด​ ้าน เช่น รัฐสภา (parliaments) ทำ�​หน้าที่ด​ ้าน​นิติบัญญัติ ระบบร​ าชการ (bureau-
cracies) ดำ�เนินน​ โยบายต​ ่างๆ ไปส​ ูเ่​ป้าห​ มาย และพ​ รรคการเมือง (political parties) ทำ�​หน้าทีร่​ วบรวมค​ วาม​
ต้องการ​ของ​สมาชิกห​ รือก​ ลุ่มต​ ่างๆ ในส​ ังคม​เข้า​สู่​ระบบ​การเมือง เป็นต้น ซึ่งจ​ ะ​ทำ�ให้​ระบบ​การเมืองส​ ามารถ​
จัด​ทำ�​และด​ ำ�เนินก​ ารน​ โยบาย​ต่างๆ ได้ เหตุน​ ี้ ระบบ โครงสร้างห​ รือส​ ถาบัน​ทางการเ​มือง และ​การ​ทำ�​หน้าที่จ​ ึง​
เป็นท​ ั้งส​ ่วน​เฉพาะแ​ ละเ​ป็น​ส่วน​ทั้งหมดข​ อง​กระบวนการท​ างการเ​มือง (political processes) ที่ด​ ำ�เนิน​ไปอ​ ยู​่
เกือบต​ ลอด​เวลา

       ส่วนส​ ภาพ​แวดล้อม​ทางด​ ้าน​ต่างๆ (environments) ของ​ระบบ​การเมือง แยกไ​ด้​เป็น 2 ส่วน หรือ
2 มิติ กว้างๆ คือ ภายใน​สังคม​กับ​ภายนอก​สังคม สภาพ​แวดล้อม​ภายใน​สังคม​ก็​คือ ส่วน​ของ​คน​หรือ​กลุ่ม​
คนในส​ ังคมแ​ ละส​ ภาพแ​ วดล้อมท​ างธ​ รรมชาติโ​ดยท​ ั่วไป สภาพแ​ วดล้อมภ​ ายนอกส​ ังคมก​ ็เ​ช่นเ​ดียวกัน คือ คน​
และก​ ลุ่ม​คน​จากส​ ังคมอ​ ื่น และล​ ักษณะ​ทางธ​ รรมชาติโ​ดยท​ ั่วไปข​ องส​ ังคมอ​ ื่น รวมท​ ั้ง​สภาพท​ างก​ ายภาพ คือ
ป่า​ไม้ ภูเขา แม่นํ้า ทะเล และ​สภาพท​ าง​ภูมิ​อากาศ และภ​ ูมิศาสตร์​โดยท​ ั่วไป

       ระบบ​การเมือง​จึง​มี​ปฏิสัมพันธ์​กับ​สภาพ​แวดล้อม​ทาง​ด้าน​ต่างๆ ใน​มิติ​ที่​ระบบ​การเมือง​มี​อิทธิพล​
ต่อ​สภาพ​แวดล้อม ก็​คือ ระบบ​การเมือง​ได้​ตัดสิน​ใจ​กำ�หนด​นโยบาย​สาธารณะ​และ​นำ�​ออก​มา​สู่​กระบวนการ​
ปฏิบัติ และอ​ าจ​มีผ​ ลกร​ ะท​ บ​หลายๆ ลักษณะ​และอ​ าจม​ ี​ระดับ​ลึกซ​ ึ้งต​ ่อ​ภาคส​ ่วนต​ ่างๆ ในส​ ังคมห​ รือ​ต่อ​สังคม​
ภายนอก ตั้งแต่​ด้าน​กายภาพ​คือ​การ​ปรับ​เปลี่ยน​สภาพ​แวดล้อม​ต่างๆ เช่น การ​สร้าง​ถนน สร้าง​เขื่อน สร้าง​
อาคาร​สถานท​ ี่ และ​การส​ ร้างโ​รงงานอ​ ุตสาหกรรม เป็นต้น ไป​จนถึง​ผลต​ ่อก​ ารเ​ปลี่ยนแปลง​ค่าน​ ิยม ความ​คิด
ความเ​ชื่อ หรือว​ ัฒนธรรม​ของ​คนใน​สังคม เช่น การจ​ ัดการ​ศึกษา การนำ�​เอา​ความ​รู้ใ​หม่ๆ มาส​ ู่ส​ ังคม และ​การ​
ปลูก​ฝัง​อุดมการณ์​ทางการ​เมือง​ตาม​แนวคิดแ​ ละ​แนวทาง​ของ​กลุ่ม​ชนชั้น​นำ�ทาง​การเมือง (political elites)
เป็นต้น ในท​ าง​กลับ​กัน สภาพ​แวดล้อม​สามารถม​ ีอ​ ิทธิพลต​ ่อ​ระบบ​การเมือง​ในห​ ลายม​ ิติ หรือ​หลาย​ลักษณะ
ตั้งแต่​การ​เรียก​ร้อง​เชิง​ผล​ประโยชน์ หรือ​ความ​ต้องการ​ของ​บุคคล กลุ่ม​คน องค์กร​และ​สถาบัน​ต่างๆ เข้า​สู่​
ระบบ​การเมือง หรือ​เรียก​ว่า “ส่วน​นำ�​เข้า​สู่​ระบบ” (inputs) และ​ถ้า​สภาพ​แวดล้อม​มี​การ​เปลี่ยนแปลง​ไป​ใน​
หลายๆ ด้าน “ส่วนน​ ำ�​เข้าส​ ู่ร​ ะบบ” ก็​ยิ่งม​ ีม​ ากมายแ​ ละอ​ าจม​ ีร​ ะดับค​ วามต​ ้องการท​ ี่ร​ ุนแรงห​ รือม​ ีพ​ ลังก​ ดดันต​ ่อ​
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23