Page 23 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 23
โครงสร้าง และสถาบันการเมืองการปกครองของไทย 5-13
การท ำ�หน้าที่ข องส ถาบันท างการเมืองต ่างๆ ภายในโครงสร้างร ะบบก ารเมืองไทย แยกได้เป็น 2 ส่วน
ใหญ่ๆ คือ หน้าทีด่ ้านร ะบบ (System functions) กับหน้าทีเ่ชิงก ระบวนการ (Process functions) หน้าที่ด้าน
ระบบที่สำ�คัญ ก็ค ือ การขัดเกลาทางสังคม (socialization) โดยส ถาบันค รอบครัว โรงเรียน กลุ่มแ ละองค์กร
ทางสังคมต่างๆ การเลือกสรร (recruitment) คนเข้าส ู่ต ำ�แหน่งต่างๆ รวมทั้งการเลือกสรรผู้นำ�ทางการเมือง
(political leaders) และห น้าที่ในก ารสื่อสาร (communication) ตั้งแต่ร ะดับบุคคลไปจ นถึงระดับสถาบัน
ส่วนหน้าที่เชิงกระบวนการ เริ่มตั้งแต่การเรียกร้องผลประโยชน์ (interest articulation) ของ
กลุ่มผลประโยชน์เข้าสู่ระบบการเมือง และ/หรืออาจเป็นการแสดงการสนับสนุนระบบการเมืองก็ได้ ต่อมา
พรรคการเมืองจะเป็นสถาบันในก ารทำ�หน้าที่รวบรวมผ ลประโยชน์ (interest aggregation) ของกลุ่มต่างๆ
เพือ่ ก �ำ หนดเปน็ น โยบายพ รรคแ ละน �ำ เขา้ ส กู่ ารต ดั สนิ ใจในร ะบบก ารเมอื ง กระบวนการต อ่ ไปน คี้ อื หนา้ ทใี่ นก าร
จัดท ำ�นโยบาย (policy making) ทีม่ ีห ลายส ถาบันท างการเมืองม ีค วามเกี่ยวข้อง โดยเฉพาะอ ย่างย ิ่ง คือ ฝ่าย
นิติบัญญัติ ฝ่ายบ ริหาร และร ะบบร าชการ ก่อนท ี่น โยบายจ ะถ ูกน ำ�ไปป ฏิบัติ (policy implementation) และ
จะเกิดก ระบวนการตัดสินข้อพิพาทต ่างๆ (adjudication) เมื่อมีป ัญหาข ้อโต้แย้งภายใต้โครงสร้าง ขอบเขต
นโยบายท ี่มีก ฎหมายหรือก ฎร ะเบียบต่างๆ รองรับ
ระบบ โครงสร้าง และส ถาบันทางการเมืองของไทย ก็ส ามารถน ำ�เอาตัวแบบท ั้ง 3 ลักษณะ ดังกล่าว
มาข้างต้น มาศึกษาวิเคราะห์ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคสมัยที่ระบบการเมืองไทยได้เปลี่ยนแปลงเป็น
ทนั ส มยั ม ากข ึน้ ตัง้ แตย่ คุ ป ฏริ ปู ก ารป กครอง พ.ศ. 2435–2453 เปน็ ตน้ มา สว่ นในย คุ ก อ่ นห นา้ น ัน้ การท �ำ หนา้ ที่
ต่างๆ ยังไม่มกี ารแ บ่งแ ยกอ อกอ ย่างช ัดเจนม ากน ัก เพราะโครงสร้าง ระบบก ารเมือง และส ถาบันท างการเมือง
ยังม ีลักษณะตามจ ารีตป ระเพณีแ บบดั้งเดิม โดยร ายล ะเอียดต ่างๆ ของโครงสร้าง และส ถาบันท างการเมือง
ของไทยจ ะศึกษาวิเคราะห์ในตอนท ี่ 5.2
หลังจ ากศ ึกษาเนื้อหาสาระเรื่องที่ 5.1.2 แล้ว โปรดป ฏิบัติกิจกรรม 5.1.2
ในแนวก ารศึกษาหน่วยที่ 5 ตอนที่ 5.1 เรื่องท ี่ 5.1.2