Page 28 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 28
5-18 การเมืองการปกครองไทย
คนในส ังคม และอ ำ�นาจก ารระดมคนเข้าส ู่ส งคราม ป้องกันอาณาเขต และการเข้าไปย ึดค รองเมืองอื่นๆ ล้วน
เป็นอ ำ�นาจข อง “พ่อขุน” หรือก ษัตรยิ ์ พอ่ ขนุ จ งึ เป็น “ศนู ย์กลางข องอ �ำ นาจ” และเป็นก ลไกส ำ�คัญส งู สุดข องร ัฐ
ในย ุคน ี้ รัฐก ับส ังคมจ ึงเป็นโครงสร้างร ่วม หรือ “รัฐร ่วมส ังคม” ยังไม่มีก ารส ร้างส ถาบันร ัฐแ ยกอ อก
มาจากโครงสร้างส ังคมอ ย่างชัดเจน หรือย ังไม่ป รากฏแบบแผนแ ละกลไกในการใช้อำ�นาจต ่างๆ แยกออกมา
เป็นส่วนๆ หรืออย่างเป็นระบบ หลักฐานต่างๆ สามารถอ้างอิงได้เพียงว่ามีโครงสร้างการปกครองแบบรวม
ศูนยอ์ ำ�นาจอ ยูท่ ี่ “พ่อขุน” หรือร ูปแ บบก ษัตริยท์ ีส่ ืบทอดอ ำ�นาจภ ายในร าชวงศ์ หรือส ายโลหิต (monarchical
form government)
เมื่อเปรียบเทียบก ับอ าณาจักร หรือร ัฐอ ื่นท ีม่ กี ารจ ัดโครงสร้าง และส ถาบันท างการเมืองท ีม่ แี บบแผน
ชัดเจน และม คี วามเข้มแ ข็งม ากกว่า ดังเช่นก รณอี ยุธยา อาณาจักรส ุโขทัยจ ึงค ่อนข ้างอ ่อนแอ และค ่อยๆ หมด
อิทธิพลลงแ ละตกเป็น “เมืองข ึ้น” ของอ ยุธยาในเวลาต่อม า
2. ยคุ อ ยธุ ยา
อยุธยาเป็นอาณาจักรใหญ่ มีความยืนยาวต่อเนื่องกันถึงประมาณ 417 ปี ในฐานะ “ศูนย์กลาง”
ของการปกครองผู้คนจำ�นวนมาก รูปแบบการปกครองที่โดดเด่น คือ ระบอบกษัตริย์ที่สืบสายโลหิตอยู่ใน
ราชวงศ์ต ่างๆ รวม 5 ราชวงศ์ อยุธยาม ีการส ร้างส ถาบันก ารเมืองการปกครองที่ม ีอยู่แ บบชัดเจน มีโครงสร้าง
ที่มีความซับซ้อน และมีพัฒนาการไปตามยุคสมัยของผู้ปกครอง จากพื้นฐานความเชื่อ ศาสนา และหลัก
การท างศ าสนาพุทธ ความเชื่อเรื่องผี หรือเทวดา หรือส ิ่งมีชีวิตเหนือธรรมชาติ และยังนำ�เอาความเชื่อ และ
หลกั ก ารท างศ าสนาพ ราหมณข์ องอ นิ เดยี ผา่ นท างข อมเขา้ ม าป ระยกุ ตใ์ ชด้ ว้ ย โดยเฉพาะอ ยา่ งย ิง่ การน�ำ มาสร า้ ง
สถาบันก ษัตริย์แ ละโครงสร้างก ารป กครองท ี่เป็นร ูปแ บบเฉพาะข องอ ยุธยา เพราะพ ื้นฐ านค วามค ิด ความเชื่อ
ของศ าสนาพราหมณ์ คือ การมี “เทพเจ้า” (God) หลายองค์ท ีล่ ้วนม ี “อำ�นาจ” และบ ทบาทสำ�คัญในด ้านต ่างๆ
เช่น พระพรหม คือ ผู้ส ร้างโลก หรือเทพสูงสุด พระพิรุณ ผู้ประทานฝน พระนารายณ์ คือ ผู้ปราบปรามมาร
หรือส ิ่งชั่วร้าย และพระอินทร์ คือ เทพแห่งสงคราม เป็นต้น
ผู้ปกครอง หรือกษัตริย์ ได้รับคำ�อธิบายตามลัทธิพราหมณ์ว่าเป็น เทพเจ้า “อวตาร” ลงมาเพื่อ
ปกครองมนุษย์หรือคน กษัตริย์ จึงเป็น “สมมติเทพ” หรือเทวราชาที่ม ีพ ระราชอำ�นาจสูงสุดและกว้างขวาง
พราหมณ์หรือนักบวช ทำ�หน้าที่เป็น “สื่อกลาง” หรือต ัวเชื่อมระหว่างก ษัตริย์ก ับเทพเจ้า
โครงสร้าง และส ถาบันท างการเมืองในย ุคอ ยุธยาเริ่มม ีแ บบแผนช ัดเจนต ั้งแต่ย ุคแ รก และได้พ ัฒนา
หรอื เปลีย่ นแปลงค รัง้ ส �ำ คญั ในย คุ ส มเดจ็ พ ระบรมไตรโลกน าถ จนก ลายเปน็ โครงสรา้ งห ลกั ท ชี่ นชัน้ ผ ปู้ กครอง
ยึดถือกันมาจนถึงยุครัตนโกสินทร์ตอนกลาง จึงเริ่มมีการนำ�รูปแบบใหม่มาใช้จากอิทธิพลของตะวันตกที่มี
ความท ันสมัยมากกว่า
1. โครงสร้าง และสถาบนั ท างการเมอื งย ุคตน้ : กษัตริยแ์ ละจ ตสุ ดมภ์