Page 33 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 33

โครงสร้าง และสถาบันการเมืองการปกครองของไทย 5-23

       การ​เปลี่ยนแปลง​และ​วัตถุประสงค์​สำ�คัญ​ของ​สมเด็จ​พระบรม​ไตรโลก​นาถ ใน​การ​จัด​ทำ�​โครงสร้าง​
การเมืองก​ ารป​ กครอง​ใหม่​ใน​ยุค​สมัย​ของ​พระองค์ (พ.ศ. 1991–2031)* ได้แก่

            1) 	การร​ วม​อำ�นาจ​การ​ปกครอง​เข้าส​ ู่ศ​ ูนย์กลาง (centralized of power)
            2) 	การ​พยายาม​จัดแ​ ยก​ทหาร​กับ​พลเรือนอ​ อก​จาก​กัน และ
            3) 	การ​สร้างค​ วามเ​ข้ม​แข็งใ​ห้ก​ ับส​ ถาบัน​พระม​ หา​กษัตริย์
            โดย​ทั้ง 3 ลักษณะท​ ี่ส​ ำ�คัญ​ดัง​กล่าวน​ ี้ มีค​ วามเ​กี่ยวข้องส​ ัมพันธ์​กันโ​ดยตรง ดังนี้
            1) 	การร​ วม​อ�ำ นาจก​ าร​ปกครองเ​ขา้ ​สศ​ู่ นู ยก์ ลาง
            หลกั ก​ ารส​ �ำ คญั กค​็ อื การท​ �ำ ใหพ​้ ระม​ หาก​ ษตั รยิ ม​์ พ​ี ระร​ าชอ​ �ำ นาจม​ ากข​ ึน้ และเ​ปน็ อ​ �ำ นาจท​ ผี​่ อู​้ ยู​่
ใต้​การป​ กครองท​ ุก​ระดับใ​ห้การย​ อมรับอ​ ย่างจ​ ริงจัง คือ สามารถล​ ดก​ ารต​ ่อต​ ้าน​หรือก​ ารแ​ ข็ง​ข้อจ​ ากเ​จ้า​เมือง​
ต่างๆ ที่​อยู่​นอก​ราชธานีไ​ด้ รวม​ทั้งพระ​มหา​กษัตริย์​สามารถ​เข้า​ถึง​การ​ใช้​อำ�นาจ​และ​การ​ดำ�เนิน​การ​ปกครอง​
ของ​บรรดาเ​จ้าเ​มือง หรือก​ ลุ่ม​ผู้ป​ กครอง​ในเ​มือง​ต่างๆ ทั่ว​ราช​อาณาจักร
            วิธี​การ​สำ�คัญใ​นก​ ารร​ วมอ​ ำ�นาจ​เข้าส​ ู่ศ​ ูนย์กลางข​ องอ​ งค์พ​ ระม​ หาก​ ษัตริย์ คือ

                 1.1)		การ​จัด​โครงสร้าง​ระบบ​การเมือง​การ​ปกครอง​ที่​พระ​มหา​กษัตริย์​และ​ราชธานี​มี​
อำ�นาจเ​พิม่ ม​ ากข​ ึน้ กล่าวค​ ือ ส่วนก​ ลางส​ ามารถค​ วบคุม ตรวจส​ อบไ​ดอ​้ ย่างท​ ัว่ ถ​ งึ ในท​ ุกร​ ะดบั ข​ องก​ ารป​ กครอง​
ในส​ ่วน​ภูมิภาค (โปรด​ดูแ​ ผนภาพท​ ี่ 5.1 ประกอบ)

                 1.2) 	พระ​มหา​กษัตริย์​ทรง​มี​อำ�นาจ​แต่ง​ตั้ง​ผู้​ดำ�รง​ตำ�แหน่ง​ต่างๆ ใน​ส่วน​กลาง​ตาม​
โครงสร้าง​ทางการ​เมือง​ที่​กำ�หนด​ขึ้น​ใหม่ และ​แต่ง​ตั้ง​ผู้​ปกครอง​หัว​เมือง​ต่างๆ ใน​ส่วน​ภูมิภาค ทำ�ให้​มี​ผล​ใน​
การ​ลด​อำ�นาจ “กินเ​มือง” หรือ​ความ​มี​อิสระข​ อง​ผู้​ปกครองเ​มืองต​ ่างๆ ลง​ไป

                 1.3) 	การ “ผนวก” เอา​เมือง​ลูกหลวงแ​ ละ​หลานหลวง​เดิม​เข้าม​ าอ​ ยู่ใ​นเ​ขตร​ าชธานี หรือ​
การข​ ยายข​ อบเขตแ​ ละอ​ ำ�นาจข​ องร​ าชธานอี​ อกไ​ปย​ ังห​ ัวเ​มืองใ​กลเ้​คียงเ​หล่าน​ ี้ นอกจากจ​ ะเ​ป็นการด​ ึงอ​ ำ�นาจเ​ข้า​
สู่​ศูนย์กลาง​แล้ว ก็​ยัง​เป็นการล​ ด​อำ�นาจ​อิสระ​ที่ม​ ีอ​ ยู่เ​ดิมข​ องเ​มือง​สำ�คัญเ​หล่าน​ ี้ใ​น​อีกด​ ้านห​ นึ่ง

                 1.4) 	มี​การ “ผนวก” หรือ​รวม​เอา​หัว​เมือง​ประเทศราช​บาง​เมือง​ใน​ยุค​อยุธยา​ตอน​ต้น
เช่น (Likhit Dhiravegin, 1985: 5) สุโขทัย และ​นครศรีธรรมราช เป็นต้น เข้า​มา​เป็น​หัวเ​มือง​ชั้นน​ อก หรือ​
เป็น​ส่วนห​ นึ่ง​ของ​อาณาจักร (พิสิฐ เจริญว​ งศ์ คงเ​ดช ประพ​ ัฒน์​ทอง และศ​ ุภ​รัตน์ เลิศพ​ าณิช​กุล 2527: 156)
ทำ�ให้​ขอบเขต​อำ�นาจ​ของ​ส่วน​กลาง​ขยาย​ออก​ไป​มาก​ขึ้น และ​เมือง​เหล่า​นี้​ก็​มี​อำ�นาจ​หรือ​ความ​เป็น​อิสระ​
ลดน​ ้อยล​ งค​ ล้ายคลึงก​ ับ​ข้อ 1.3

	 * เป็นพ​ ระ​ราชโอรสส​ มเด็จพ​ ระบรม​ราชาธิราชที่ 2 (เจ้า​สามพระยา) ที่ท​ รง​ครองร​ าชย์อ​ ยู่​ระหว่าง พ.ศ. 1967–1991 พระองค์​
ประสูติข​ ณะท​ ี่พ​ ระ​บิดาเ​สด็จน​ ำ�​ทัพ​หลวงไ​ปต​ ี​กรุงก​ ัมพูชา พ.ศ. 1947 พระนามเ​ดิม คือ พระ​ราเ​ม​ศวร ได้​ครอง​เมืองพ​ ิษณุโลก หลัง​จาก​
ได้ร​ ับร​ าชส​ มบัติ เมื่อ พ.ศ. 1991 ก็​ครองก​ รุง​ศรีอยุธยา​อยู่ 15 ปี จึงไ​ด้ย​ ้าย​ราชธานีไ​ป​ตั้ง​อยู่​ที่​พิษณุโลก ทรงป​ ระท​ ับ​อยู่​ที่น​ ี่​นาน​ถึง 25 ปี
ระหว่าง พ.ศ. 2006–2071 การ​เปลี่ยนแปลงก​ ารเมือง​การ​ปกครอง​ครั้ง​ใหญ่ใ​นร​ ัชส​ มัยข​ อง​พระองค์เ​กิด​ขึ้น​หลังจ​ าก​ครองร​ าชย์ส​ มบัติ​ได้
7 ปี ขณะ​ที่ท​ รง​มีพ​ ระ​ชนมายุ 24 พรรษา
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38