Page 32 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 32
5-22 การเมืองการปกครองไทย
“เจ้าน ายช ั้นส ูง” ที่พ ระม หาก ษัตริย์ท รงแ ต่งต ั้งเพราะไว้ว างพ ระร าชห ฤทัย เมืองเหล่าน ี้จ ึงม ีล ักษณะเป็นเพียง
“สัญลักษณ์ของส่วนกลาง” เท่านั้น แต่ไม่ใช่อ ำ�นาจของส ่วนก ลางท ี่แท้จ ริงในท างป ฏิบัติ
เหตุนี้ โครงสร้างการเมืองการปกครองเดิมของกรุงศรีอยุธยาจึงเหมือนกับมี “ศูนย์กลาง
อำ�นาจ” หลายแห่ง และราชธานีกลับกลายเป็น “สัญลักษณ์เชิงอำ�นาจ” ของราชอาณาจักรเท่านั้น ขณะที่
พระมหากษัตริย์ก ลับมีพ ระร าชอ ำ�นาจจำ�กัดแ ละไม่เด็ดข าดสมบูรณ์ การท ้าทายอ ำ�นาจ การจลาจล และการ
แย่งช ิงอำ�นาจบ ัลลังก์จ ึงเกิดข ึ้นห ลายครั้ง ครั้งส ำ�คัญก็ค ือ
พ.ศ. 1913 ขุนหลวงพระงั่ว (ราชวงศ์ส ุพรรณภ ูมิ) แย่งอำ�นาจจากสมเด็จพ ระร าเมศ วร ซึ่งไป
ครองเมืองลพบุรี
พ.ศ. 1931 สมเด็จพระราเมศวร (ราชวงศ์เชียงราย) เสด็จฯ จากเมืองลพบุรีเข้าไปแย่งชิง
ราชบ ัลลังก์แ ละป ระหารช ีวิตพ ระเจ้าทองล ัน
พ.ศ. 1952 เจ้านครอ ินทร์ (ราชวงศ์ส ุพรรณภ ูมิ) แย่งช ิงราชบัลลังก์จากพ ระรามราชา
พ.ศ. 1967 หลังจ ากส มเด็จเจ้าน ครอ ินทร์ สวรรคต ราชบุตร 2 องค์ คือ เจ้าอ ้ายพ ระยาท ีค่ รอง
เมอื งส พุ รรณภ มู กิ บั เจา้ ย พี่ ระยา ผคู้ รองเมอื งแ พรก (สรรค)์ ตา่ งย กก องทพั เขา้ ม ายงั ก รงุ ศ รอี ยธุ ยา แลว้ ช นชา้ ง
กันจนสิ้นพระชนม์ทั้งส องพระองค์
การคิดหาแนวทางและวิธีการที่จะป้องกันหรือแก้ไขปัญหาการแย่งชิงอำ�นาจทางการเมือง
และความอ่อนแอของอำ�นาจพระมหากษัตริย์ จึงน่าจะเกิดขึ้นกับพระมหากษัตริย์เกือบทุกพระองค์ใน
ก รุงศรีอยุธยา เพื่อท รงขึ้นสู่อ ำ�นาจ
2. สาเหตุจากภายนอกและการขยายอาณาเขต อาณาจักรและเมืองใหญ่หลายแห่งที่อยู่ใกล้เคียง
กับก รุงศ รีอยุธยา ต่างก ็พ ยายามมีอิทธิพลต ่อก ันและก ัน ถ้าครั้งใดท ี่ฝ ่ายใดฝ ่ายห นึ่งม ีความเข้มแข็งมากท ั้ง
ด้านผู้นำ�และจำ�นวนไพร่พล ขณะที่อีกฝ่ายหนึ่งอ่อนแอกว่า ก็มักจะมีการยกทัพเข้าไปทำ�สงครามและยึด
ครอง หรือไม่ก็ปกครองในฐานะเมืองประเทศราชและกวาดต้อนเอาผู้คนไปยังเมืองของผู้ชนะ เหตุนี้เมื่อ
ก รงุ ศ รอี ยธุ ยาต ไี ดน้ ครธ มข องข อม(ระหวา่ งพ.ศ.1974–1975)*และไดก้ รงุ ส โุ ขทยั ม าไวใ้ นเขตร าชอ าณาจกั รเมอื่
พ.ศ. 1981 นอกจากจะเป็นการขยายอ าณาเขตของก รุงศ รีอยุธยาออกไปแ ล้ว ก็เกิดค วามจ ำ�เป็นต ่อผ ูป้ กครอง
กรุงศรีอยุธยาที่จะต้องจัดการปกครองอาณาเขตที่ขยายกว้างออกไปดังกล่าวนี้ รวมทั้งการป้องกันไม่ให้
อทิ ธพิ ลข องอ าณาจกั รภ ายนอกร กุ ล ํา้ เขา้ ม าในอ าณาเขตเหลา่ น ี้ โดยเฉพาะอ ยา่ งย ิง่ อทิ ธพิ ลข องล า้ นน าต อ่ ส โุ ขทยั
ในอีกมิติหนึ่ง การที่กรุงศรีอยุธยาได้ยึดครองนครธม และกวาดต้อนเอา “สมณชีพราหมณ์
โหราจารย์” เข้ามาด้วย ทำ�ให้เกิดการเรียนรู้และมีการนำ�เอาแบบอย่างในด้านดีหรือด้านที่ให้ขอมเจริญ
ก้าวหน้า และเข้มแข็งมาก่อน เพื่อป รับใช้กับการปกครองก รุงศรีอยุธยา และในครั้งนี้ได้นำ�เอาแนวคิดแ ละ
หลักก าร สำ�คัญๆ ของศ าสนาพ ราหมณเ์ข้าม าใช้อ ย่างจ ริงจัง ต่างจ ากก รุงศ รีอยุธยาย ุคแ รกๆ การเปลี่ยนแปลง
ที่ได้จ ากอ ิทธิพลข องว ัฒนธรรมอ ินเดียผ ่านม าท างข อมในค รั้งน ี้ ได้ป รากฏผ ลให้ส ังคมอ ยุธยาแ ตกต ่างไปจ าก
เดิมอ ย่างมาก
* เป็นการย ึดค รองนครธ มมาได้เป็นครั้งท ี่ 3