Page 27 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 27

โครงสร้าง และสถาบันการเมืองการปกครองของไทย 5-17

ตามท​ ี่​ไว้​วางใจ โดยม​ ีก​ าร​จัดแ​ บ่งห​ น้าที่​ต่างๆ ไว้ เพียงแ​ ต่ก​ าร​กำ�หนด​ตำ�แหน่ง (positions) และ​คัดเ​ลือกเ​ข้า
ท​ ำ�​หน้าทีย่​ ังอ​ าจไ​ม่มีค​ วามเ​ป็นส​ ถาบัน (were not institutionalized) (Likhit Dhiravegin, 1985: 3) เหมือน​
ในย​ ุค​อยุธยาแ​ ละย​ ุค​ต่อๆ มา กล่าว​คือ ยัง​ไม่มีร​ ะเบียบแ​ บบแผน​ที่ช​ ัดเจน อย่างไร​ก็ตาม ใน​ส่วนน​ ี้​ที่​เป็น​ส่วน​
น้อย​ก็​อาจ​ถือ​ได้​ว่า​เป็น​ฝ่าย​ผู้​ปกครอง หรือ​เป็น​ผู้​ดำ�เนิน​การ​กิจ​กา​รสำ�คัญๆ ในอ​ าณาจักร เพื่อ​ให้​เกิด​ความ​
สงบส​ ุขเ​รียบร้อยภ​ ายในส​ ังคม และต​ ่อต​ ้านก​ ารร​ ุกรานจ​ ากภ​ ายนอก หรืออ​ ยู่ใ​นฐ​ านะผ​ ู้นำ� (leaders) ของค​ นใน​
สังคม โดย​มี​ศูนย์กลาง​ของ​การ​ปกครอง​ทั้ง​มวล​อยู่​ที่​ตัว “พ่อขุน” ซึ่ง​ปรากฏ​จาก​หลัก​ฐาน​ต่างๆ ว่า ใน​สมัย
“พ่อขุน​รามคำ�แหง” การ​ปกครอง​และ​บริหาร​จัดการ​ด้าน​ต่างๆ ภายใน​อาณาจักร​สุโขทัย​เป็น​ไป​อย่าง​กว้าง​
ขวางแ​ ละเ​พื่อ​ความ​อยู่ดีก​ ินด​ ี​ของผ​ ู้คนท​ ั้งห​ ลาย ประชาชน​เอง​ก็​สามารถ​เข้าไป “ใกล้ช​ ิด” ผู้ป​ กครอง​สูงสุด​ได้
เมื่อม​ ีเ​รื่อง “เจ็บ​ข้องห​ มองใจ” หรือแ​ ม้แต่​มี​ข้อ​พิพาทต​ ่างๆ ระหว่าง​กัน เพื่อใ​ห้​พ่อขุนเ​ป็น​ผู้ “แล่งค​ วามแ​ ก่ข​ า​
ด้วย​ซื่อ” หรือต​ ัดสิน​ให้​ยุติ​ข้อ​พิพาทเ​หล่าน​ ั้น

       ในอ​ ีก​ด้านห​ นึ่ง คนส​ ่วน​ใหญ่ใ​นส​ ังคมจ​ ึง​เป็น​ฝ่าย​ที่​อยู่​ใต้ก​ ารป​ กครอง (ruled) ที่ม​ ีค​ ำ�​เรียก​ผู้คนท​ ี่​ไม่​
ได้​อยู่​ในฐ​ านะ​ผู้​ปกครอง (rulers) หลายค​ ำ� คือ ท่วย ไท ไพร่ ไพร่พล ข้า ลูก​บ้านล​ ูกเ​มือง และ​คน “... ไพร่ฟ​ ้า
ลูกเ​จ้า ลูกขุน...ให้ฝ​ ูงท​ ่วยล​ ูกเ​จ้า​ลูกขุน ฝูง​ท่วย​ถือ​บ้าน​ถือเ​มือง” เป็นค​ น​จำ�นวน​มาก​ที่สุดใ​นส​ ังคม

       เหตุ​นี้ ลักษณะ​โครงสร้าง​ทาง​สังคมส​ ุโขทัยอ​ าจ​แยก​ออก​ กว​ ้างๆ ได้​เป็น 2 ชนชั้นท​ างส​ ังคม (Social
Classes) คือ

       หนงึ่ ชนชั้นผ​ ู้​ปกครอง (ruling classes)
       ส่วนส​ ำ�คัญ ก็ค​ ือ กษัตริย์ หรือ “พ่อขุน” พระส​ งฆ์ และข​ ุนนาง ข้าราชการ (พิสิฐ เจริญว​ งศ์ คงเ​ดช
ประ​พัฒน์​ทอง และ​ศุภ​รัตน์ เลิศ​พาณิชย์​กุล 2527: 101-106) หรือผ​ ู้​ทำ�​หน้าที่​ด้าน​การ​ปกครอง​และ​บริหาร​
ช่วยเ​หลือ​ผู้นำ�​สูงสุด รวม​ทั้ง “พระ​ราชวงศ์” หรือ เครือญ​ าติ​ใกล้​ชิด “พ่อขุน”
       สอง ชนชั้นผ​ ู้ถ​ ูก​ปกครอง (the ruled classes)
       ส่วนใ​หญ่​อยู่​ใน​ฐานะไ​พร่ และ​ระดับต​ ํ่า​สุด คือ ทาส (พิสิฐ เจริญว​ งศ์ คงเ​ดช ประพ​ ัฒน์​ทอง และ
ศ​ ุภ​รัตน์ เลิศพ​ าณิชย์ก​ ุล 2527: 101-106) แต่ก​ ็ม​ ี​คนห​ ลาก​หลายก​ ลุ่ม คือ มีก​ าร​เรียกว​ ่า ไทย ท่วย คน ลูก​บ้าน​
ลูก​เมือง ไพร่ฟ​ ้า ข้า ไพร่พล เป็นต้น บางส​ ่วนก​ ็เ​ป็น “นายช​ ่าง” คือ​เป็นการท​ ำ�งาน​มีท​ ักษะใ​นด​ ้านใ​ดด​ ้านห​ นึ่ง
เช่น ช่างอ​ ิฐ ช่างก​ ่อ ช่าง​ก่อสร้าง และ​ช่าง​ปั้น เป็นต้น ทาสส​ ่วน​ใหญ่​ในย​ ุคน​ ี้ คงจะ​มาจ​ ากก​ าร​ใช้ก​ ำ�ลังไ​พร่พล​
เข้าไปย​ ึด​ครองเ​มือง หรือ​รัฐ​อื่น แล้วกว​ าด​ต้อน​เอา​ผู้คนบ​ าง​ส่วนเ​ข้าม​ าเ​ป็นท​ าส
       อย่างไร​ก็ตาม โครงสร้างท​ าง​สังคม​ดัง​กล่าว​นี้ ไ​ม่​ได้​แบ่ง​แยกอ​ ย่าง​เป็นท​ างการ​หรือ​อย่างเ​ป็น​สถาบัน
เพราะ​ความ​คิด ความเ​ชื่อ และค​ ่าน​ ิยมพ​ ื้นฐ​ านข​ องว​ ัฒนธรรม​ที่ส​ ังคมส​ ุโขทัยย​ ึดถือ ยังเ​ป็น “ผี” กับ “พุทธ
(ศาสนา)” คือ เชื่อใ​น​สิ่งม​ ีช​ ีวิตน​ อกเ​หนือธ​ รรมชาติ (supernatural being) ในแ​ บบส​ ังคมเ​กษตรกรรมล​ ้า​หลัง
และแ​ นวคิดเ​รื่องก​ ารเ​กิดใ​หม่ เรื่องบ​ าป-บุญ หรือก​ รรม หรือก​ ารกร​ ะท​ ำ�ความด​ ี และล​ ะเว้นค​ วามช​ ั่วท​ ั้งป​ วงข​ อง​
พุทธศ​ าสนา อิทธิพล​ของ​ลัทธิ​พราหมณ์ย​ ัง​มีน​ ้อย ต่าง​จาก​สังคมใ​น​ยุคอ​ ยุธยา
       เหตุน​ ี้ ใน​ด้าน​โครงสร้าง และส​ ถาบัน​ทางการ​เมืองจ​ ึงเ​ป็นโ​ครง​สร้างห​ ลวมๆ ซํ้าซ้อนอ​ ยู่​กับ​โครงสร้าง​
ทาง​สังคม และ​ยัง​ขาด​การ​สร้าง​สถาบัน​ที่​มี​รูป​แบบ​และ​แบบแผน​ที่​ชัดเจน เพราะ​อำ�นาจ​ทุก​ด้าน​ใน​การ​สร้าง​
ความ​สงบ​สุข​ภายใน ส่ง​เสริม​การ​ทำ�​มา​หากิน การ “สร้าง​บ้าน​แปง​เมือง” ตลอด​จน​การ​ตัดสิน​ข้อ​พิพาท​ของ​
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32