Page 29 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 29
โครงสร้าง และสถาบันการเมืองการปกครองของไทย 5-19
การปกครองแบบกษัตริย์ของอยุธยาในยุคเริ่มต้น คือตั้งแต่ “พระเจ้าอู่ทอง” หรือสมเด็จ
พระรามาธิบดีท ี่ 1 ผู้ทรงสถาปนา “กรุงศ รีอยุธยา” ขึ้นใน พ.ศ. 18931 (มติช น 1 กรกฎาคม 2533: 20; มาตยา
อิงค น าร ถ ทวีทองส ว่าง และว ัฒนา รอดส ำ�อางค์ 2524: 45-50) ไปจ นถึงย ุคก ่อนท ี่จ ะม ีก ารป ฏิรูปก ารป กครอง
ครั้งสำ�คัญในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ. 1991-2031) ใช้การปกครองแบบกษัตริย์ที่มีการ
สืบสายโลหิต หรือต ามเครือญ าติ หรือ “ราชวงศ์” ที่มีล ักษณะค ล้ายคลึงกับสมัยส ุโขทัย อำ�นาจการป กครอง
ของก ษตั รยิ จ์ ะเขม้ ข น้ ห รอื ม มี ากในเขต “เมอื งห ลวง” หรอื ร าชธานี เพราะย งั ไมม่ กี ารส รา้ งร ะบบร วมศ นู ยอ์ �ำ นาจ
อย่างเต็มท ี่ แต่มีการมอบอ ำ�นาจให้แ ก่ร าชวงศ์บ างพ ระองค์ เช่น พระอ นุชา และพ ระร าชโอรส เป็นต้น ออกไป
ปกครองหัวเมืองร อบๆ ราชธานี และม ีลักษณะเป็นรัฐเล็กๆ ที่ม ีอิสระจากร าชธานี และใช้ว ิธีก ารปกครองใน
แบบ “ศักดินา2 (Likhit Dhiravegin, 1985: 4-5) คือ จัดลำ�ดับช ั้นล ดห ลั่นล งไปต ามส ถานภาพข องผ ูป้ กครอง
และใช้ร ะบบอุปถัมภ์ในค วามสัมพันธ์ร ะหว่างผ ู้ป กครองในลำ�ดับชั้นต่างๆ
ในด้านสถาบันทางการเมืองที่ได้พัฒนาขึ้นในยุคนี้ ก็คือ จตุสดมภ์ หรือหลักทั้งสี่ หรือกิจการใน
4 พื้นที่ที่รับมาจากขอม ใช้ปกครองภายในราชธานี ประกอบด้วย (Likhit Dhiravegin, 1985: 3-4;
มาตยา อิงคนาร ถ ทวี ทองส ว่าง และว ัฒนา รอดส ำ�อาง 2524: 54; พิสิฐ เจริญว งศ์ คงเดช ประพ ัฒน์ท อง และ
ศุภรัตน์ เลิศพาณิชย์ก ุล 2527: 130-132)
1. เวียง หรือ เมือง มี “ขุนเมือง” ปกครองบ ังคับบ ัญชา มีหน้าท ี่ด ูแลท ้องที่แ ละร าษฎรทั่วไปเกี่ยว
กับก ารรักษาค วามสงบเรียบร้อย ปราบปรามโจรผ ู้ร้ายและลงโทษผู้ก ระทำ�ผิดในพ ื้นที่ร าชธานี
2. วัง มีขุนว ังบังคับบัญชา มีหน้าที่เกี่ยวก ับงานในราชส ำ�นักและพระราชพิธีต่างๆ เกี่ยวก ับกษัตริย์
และว ัง ตลอดจ นหน้าที่ด ้านย ุติธรรมและการพิพากษาค ดีต ่างๆ ของร าษฎร
3. คลัง มีขุนคลังเป็นผู้บังคับบัญชา มีหน้าที่เกี่ยวกับการเก็บและรักษาผลประโยชน์ของแผ่นดิน
หรือท รัพย์สินข องก ษัตริย์ ที่ได้จากการเก็บภ าษีอากร และห น้าที่เกี่ยวกับก ิจการต่างประเทศ
4. นา มีขุนนาบังคับบัญชา หน้าที่ด้านการดูแลไร่นา รักษาเสบียงอาหารสำ�หรับราชธานี การเก็บ
หางข ้าวฉางห ลวง คือ แบ่งข ้าวจ ากผู้ทำ�ไร่น า ส่งขึ้นฉ างหลวงไว้ใช้ในก ิจการข องรัฐหรือร าชการ และก ารอ อก
“สิทธิ” หรือกรรมสิทธิ์ในที่น าให้ก ับผู้ทำ�นา (ชาวนา)
นอกจากเวียง วัง คลัง นา ดังกล่าวนี้แ ล้ว ยังมี “หน่วยงาน” ย่อยๆ ที่อ าจเรียกว่า “กรมห รือก อง
ย่อย” อีกห ลายห น่วยง านในเขตร าชธานี แต่ก ็ย ังไม่มีก ารแ บ่งแ ยกห น้าที่ไว้อ ย่างช ัดเจน หรือม ีข อบเขตเฉพาะ
ของแ ต่ละห น่วยง าน ทำ�ให้งานม ีลักษณะ “ซํ้าซ้อน” (overlapping) มากกว่า “ความซ ับซ ้อน” (complexity)
ความรับผิดชอบของขุนต่างๆ จึงค่อนข้างสับสน หรือต่างต้องทำ�หลายๆ หน้าที่ และมีลักษณะคล้ายๆ กัน
รวมทั้งห น้าที่ปกครองแ ละด ้านย ุติธรรม โดยเฉพาะอ ย่างยิ่ง ยังไม่มีก ารแบ่งแ ยกโครงสร้างร ะหว่างท หารก ับ
1 เดิมมีเมืองอโยธยาหรืออโยธยาศรีรามเทพ หรืออโยธยา–ละโว้ ตั้งอยู่ด้านตะวันออกของแม่นํ้าเจ้าพระยา บริเวณวัด
พนัญเชิง และวัดใหญ่ชัยมงคล สันนิษฐานว่า ได้เกิด “กาฬโรค” (Black Death) จนผู้คนล้มตายมาก หลังจากโรคนี้สิ้นไป พระเจ้า
อู่ทองท ี่ม ีค วามเกี่ยวพ ันทาง “เครือญ าติ” กับเมืองล ะโว้ และส ุพรรณบุรี จึงได้ส ถาปนาเมืองข ึ้นใหม่ท างฝ ั่งต ะวันต ก ตรงข ้าม กับอโยธย า
เรียกว่า “กรุงศรีอยุธยา” บริเวณเวียงเหล็ก และวัดพุทไธสวรรย์ หรือเรียกว่า “หนองโสน” นอกจากนี้ ก็ยังมีการสันนิษฐานในลักษณะ
อื่นๆ อีกด้วย
2 ลิขิต ธีรเวคิน สันนิษฐานแ ละเปรียบเทียบว่า “ระบบศักดินา” นี้ ได้ก ำ�หนดหน้าที่ไว้ในแบบเดียวกับระบบศักดินาในยุค
กลางในฝรั่งเศสแ ละเยอรมนี ที่เป็นการค รอบครองด ินแ ดน (lands) และม ีชาวนาเป็นผ ู้ใช้แรงงานในท ี่ดินนั้น