Page 44 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 44
5-34 การเมืองการปกครองไทย
ปัญหาส ำ�คัญท ี่เกิดข ึ้นม าโดยต ลอด ก็ค ือ ความซํ้าซ้อนห รือก ารป ะปนก ันร ะหว่างขอบเขตงาน
และอำ�นาจหน้าที่ระหว่างฝ ่ายสมุหนายกก ับสมุหกลาโหม จนไม่สามารถแ บ่งแยกพลเรือนกับทหารออกจาก
กันได้ ปัญหาก ารแ ย่งช ิงร าชบ ัลลังกห์ รืออ ำ�นาจส ถาบันพ ระม หาก ษัตริยข์ องเจ้าเมืองต ่างๆ ทีเ่กิดข ึ้นห ลายค รั้ง
เพราะเจ้าเมืองต่างๆ ค่อนข้างมีอิสระ และสามารถสร้างอิทธิพลทางการเมือง จนสามารถเข้าไปมีอำ�นาจใน
ราชธานีแ ละว ังได้ และในย ุคท ี่ต ะวันต กแ ผ่อ ำ�นาจเข้าม าส ูด่ ินแ ดนส ุวรรณภูมิ ก็ยิ่งม องเห็นในเชิงเปรียบเทียบ
ได้ว ่า โครงสร้าง และส ถาบันท างการเมืองก ารป กครองด ั้งเดิมน ี้ ค่อนข ้างจ ะล ้าห ลัง และอ าจไม่ส ามารถเผชิญ
หน้ากับการท้าท ายใหม่ๆ ที่เกิดข ึ้นในยุคน ี้ได้
1.2 ความเปลยี่ นแปลงภ ายในส งั คมส ยาม (ไทย) หลายๆ ดา้ น โดยเฉพาะอ ยา่ งย ิง่ ท มี่ ผี ลกร ะท บ
ต่ออำ�นาจแ ละค วามมั่นคงของส ถาบันพ ระมหากษัตริย์ และส่วนกลาง คือ วัง และร าชธานี
ตั้งแต่สมัยร ัชกาลที่ 2 ถึงร ัชกาลท ี่ 3 “การค ้าส ำ�เภา” ของพระมหาก ษัตริย์ และพ ระร าชวงศ์
บางพระองค์ได้ขยายตัวออกไปมากขึ้น เพราะมีการส่งสินค้าไปขายตามเมืองท่าและตลาดสินค้าหลายแห่ง
ตั้งแต่ชวา มะละกา ไปจนถึงบริเวณเมืองชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของจีน ผลที่เกิดขึ้นตามมาคือ ความ
มั่งคั่งรํ่ารวยของพระมหากษัตริย์และขุนนางบางกลุ่ม ขณะเดียวกัน ก็ได้เกิดปรากฏการณ์ผู้อพยพชาวจีน
หลั่งไหลเข้ามาในสยามเป็นจำ�นวนมาก โดยคาดว่า อาจมีถึงประมาณปีละ 15,000 คน ในรัชกาลพระบาท
สมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย คนเหล่านี้ได้กลายมาเป็นแรงงานอิสระรับค่าจ้างที่ค่อนข้างยืดหยุ่นและมี
ประสิทธิภาพมากกว่าแรงงานไพร่ที่ไม่มีค่าจ้าง (corvee labor) “มูลนาย” ที่เป็นผู้ปกครองระดับสูงจึงใช้
เงินกำ�ไรจากการค้าสำ�เภา และ “เงินหลวง” ในการว่าจ้างแรงงานจีนให้ทำ�งานสาธารณะต่างๆ ในระยะแรก
ผู้อ พยพช าวจ ีนไม่ได้ส ร้างผ ลกร ะท บโดยตรงต ่อป ัญหาก ารป กครองข องช นชั้นน ำ�ทางก ารเมือง แต่ผ ลกร ะท บ
อาจม ลี ักษณะค ่อยเปน็ ค อ่ ยไป เพราะค นจ นี บ างค นบ างก ลุ่มส ามารถเข้าส กู่ ระบวนการค ัดก รองค นเพื่อ “เลือ่ น
ชัน้ ท างส งั คม” (social upward mobility) ผา่ นท างการถ วายต วั แ ละท �ำ งานร บั ใช้ “มลู นาย” ในง านห ลากห ลาย
รูปแบบ รวมท ั้งก ารเป็นผ ู้เชี่ยวชาญก ารเดินเรือแ ละการค ้าสำ�เภา และก ารเป็นเจ้าภ าษีน ายอากร จัดเก็บและ
รวบรวมภาษีส่งให้ส่วนกลาง นอกจากนั้น ความเป็นอิสระและอยู่นอกระบบไพร่ และระบบทาสทำ�ให้คน
เหล่าน ี้สามารถ “สะสมท ุน” จนกลายเป็นกลุ่มท ุนส ำ�คัญในภายหลัง
1.3 ประเด็นทางการเงิน (monetary matters) เมื่อมีการขยายฐานภาษีการทำ�นาให้เจ้าภาษี
นายอากร หรือเอกชนเป็นผู้จัดเก็บให้ จากคำ�แนะนำ�ของทูตอังกฤษในสมัยรัชกาลที่ 2 จนทำ�ให้ส่วนกลาง
มีรายได้เพิ่มมากขึ้น แต่มีหน่วยงานของส่วนกลางถึง 10 หน่วยงาน ในการรวบรวมเงินภาษีที่ผ่านการ
จัดเก็บข องเอกชน และภ าษบี างส ่วนก ็ได้ก ลายเป็นผ ลป ระโยชนข์ องห น่วยง านเหล่าน ั้น นอกเหนือจ ากเอกชน
ผู้จัดเก็บ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นชาวจีน* ได้จัดแบ่งบางส่วนไว้เป็นของตนเอง เงินที่นำ�เข้าพระคลังจริงๆ จึงมี
ไม่มากนัก และสะท้อนถึงปัญหาด้านประสิทธิภาพของระบบราชการแบบเดิม จากข้อมูลในสมัยรัชกาล
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2367–2394) ได้มีการขยายการเก็บภาษีเกี่ยวกับนาและการ
เกษตรกรรมออกไปถึง 38 ชนิด และในยุคนี้ก็เริ่มจัดเก็บภาษีหวยเป็นครั้งแรก จากฐานภาษีนาดังกล่าว
* เจ้าภ าษีน ายอ ากร ถือเป็นเจ้าหน้าที่ของท างการ และได้รับศักดินา 400 ไร่