Page 43 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 43
โครงสร้าง และสถาบันการเมืองการปกครองของไทย 5-33
ทางการเมืองในส่วนกลางที่มี “มูลนาย” คือ เจ้านายและขุนนางตำ�แหน่งต่างๆ ควบคุมและบังคับบัญชา
นอกอ าณาเขตข องว ังและร าชธานีออกไป ก็จ ัดแ บ่งอ อกเป็นห ัวเมืองช ั้นในก ับห ัวเมืองช ั้นนอก และแ บ่งร ะดับ
ห วั เมอื งต า่ งๆ ออกเปน็ เอก โท ตรี และจ ตั วา อกี ล กั ษณะห นึง่ โดยแ ตง่ ต ัง้ ผ บู้ รหิ ารเมอื งข ึน้ ต รงต อ่ อ คั รเสนาบดี
2 ฝ่าย และสุดท้ายก็ข ึ้นต รงต่อพระม หาก ษัตริย์ ศูนย์ร วมของอำ�นาจในอาณาจักร ที่เริ่มม ีความเป็นเทวราชา
ลดน้อยล งก ว่าในยุคอ ยุธยา จากเหตุผลของก ารสร้างร าชวงศ์ใหม่ด ังกล่าวข้างต้น และก ารเน้นส ร้าง “ความ
เป็นธรรมราชา” มากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การเน้นนำ�ทศพิธราชธรรมมากขึ้นในทางปฏิบัติ (อัจฉราพร
กมุทพิสมัย 2552: 300-301) ด้วยก ารส ่งเสริมพระพุทธศาสนาในห ลายๆ ด้าน ทั้งก ารสังคายนาพ ระไตรปิฎก
การส ร้างศาสนส ถาน การบูรณะแ ละป ฏิสังขรณ์พระพุทธร ูป และศ าสนส ถานเป็นจำ�นวนม ากในทุกร ัชกาล
หลังจ ากศ ึกษาเนื้อหาส าระเรื่องที่ 5.2.1 แล้ว โปรดปฏิบัติกิจกรรม 5.2.1
ในแนวการศ ึกษาห น่วยท ี่ 5 ตอนท ี่ 5.2 เรื่องที่ 5.2.1
เรือ่ งที่ 5.2.2 โครงสรา้ ง และสถาบันทางการเมืองการปกครองของ
ไทย สมยั รชั กาลท ่ี 5 แหง่ กรงุ รตั นโกสนิ ทรถ์ ึง
การเปล่ยี นแปลงก ารปกครอง พ.ศ. 2475
ตั้งแต่ช ่วง พ.ศ. 2411 หรือป ีแรกที่พระบาทส มเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จขึ้นค รองราชย์
จนถึงเกิดก ารเปลี่ยนแปลงการป กครอง พ.ศ. 2475 โครงสร้าง และสถาบันท างการเมืองก ารป กครองข องไทย
ไดม้ กี ารเปลี่ยนแปลงค รั้งใหญแ่ ละส ำ�คัญอ ีกค รั้งห นึ่ง ในค รั้งน ีไ้ดเ้กิดก ารส ร้างร ะบบร าชการส มัยใหมจ่ ากก าร
ประยุกต์ข องต ะวันต กม าใช้ และเป็นผลม าจากอิทธิพลของตะวันตกในหลายๆ ด้าน
สาเหตขุ องก ารเปลย่ี นแปลงไ ปส คู่ วามท นั ส มยั (Modernization)(ประมวลจ ากSiffin,1966:Chapter3;
กระมล ทองธรรมชาติ และคณะ 2521: 24-34)
1. สาเหตจุ ากภ ายใน ได้แก่
1.1 โครงสรา้ ง และส ถาบนั ก ารเมอื งก ารป กครองเดมิ ทดี่ �ำ รงม ายาว นาน กว า่ 400 ปี คอ่ นข า้ งม ี
ปญั หาห รอื ไมเ่ หมาะส มก บั ย คุ ส มยั โดยเฉพาะอ ยา่ งย ิง่ ความส บั สนภ ายในร ะบบแ ละป ระสทิ ธภิ าพป ระสทิ ธผิ ล
ของก ารท ำ�หน้าที่