Page 60 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 60

5-50 การเมืองการปกครองไทย

ไม่มี​ความ​เข้มแ​ ข็ง​มาก​เพียงพ​ อ เพราะป​ ระชาชนส​ ่วน​ใหญ่​ยัง​ขาดค​ วาม​รู้​ความ​เข้าใจท​ างการเ​มือง จากค​ วาม​
ยากจน​และ​มี​การ​ศึกษา​ตํ่า และ ส.ส. ก็​ยัง​ยึด​วัฒนธรรม​อุปถัมภ์​และ​พวก​พ้อง จน​ไม่​สามารถ​ทำ�​บทบาท​ที่​
สะทอ้ นค​ วามเ​ปน็ ต​ วั แทนแ​ ละ “พลงั ท​ างส​ งั คม” ไดอ​้ ยา่ งเ​ปน็ ร​ ปู ธ​ รรม เมือ่ เ​กดิ ป​ ญั หาค​ วามข​ ดั แ​ ยง้ ท​ างการเ​มอื ง
​ใน​กลุ่ม​ชนชั้น​นำ�ทาง​การเมือง ใน​ช่วง​หลัง​จาก​ประกาศ​ใช้​รัฐธรรมนูญ ก็​นำ�​ไป​สู่​การ​ประกาศ​ยึด​อำ�นาจของ​
คณะร​ ัฐประหาร พ.ศ. 2490 อีกครั้งในว​ ันท​ ี่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 เพราะค​ ณะ​รัฐประหารช​ ุดน​ ี้ มุ่งห​ วัง​
จะ​มี​อำ�นาจ​ทางการ​เมือง​ต่อ​ไป จึง​ต้อง​ทำ�การ​เปลี่ยนแปลง​ใน​ด้าน​ต่างๆ รวม​ทั้ง​โครงสร้าง และ​สถาบัน​ทาง
การเ​มือง​ที่​เอื้อ​ต่อก​ าร​มีอ​ ำ�นาจ​ของ​ฝ่าย​ตน

6. 	ภายใ​ตร​้ ัฐธรรมนญู ฯ พ.ศ. 2475 แกไ้ ขเ​พ่มิ เ​ติม พ.ศ. 2495

       รัฐธรรมนูญฉ​ บับ​นี้ ที่ค​ ณะ​รัฐประหาร​นำ�​เอาร​ ัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2475 (ฉบับถ​ าวร) มา​แก้ไขเ​พิ่ม​เติม
แ​ ล้วป​ ระกาศใ​ช้​เมื่อ​วัน​ที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2495 ได้​กลับ​ไปใ​ช้​โครงสร้าง และส​ ถาบันท​ างการ​เมืองก​ ารป​ กครอง​
คลา้ ยคลงึ ก​ บั ร​ ฐั ธรรมนูญฯ​ พ.ศ. 2475 แตก่​ ไ็ ดเ​้ พิ่มเ​ตมิ บ​ างส​ ่วนข​ ึน้ ใ​หมค่​ ล้ายคลงึ ก​ บั ร​ ัฐธรรมนูญฯ​ พ.ศ. 2489
และ พ.ศ. 2492 รวมท​ ั้งบ​ ัญญัตใิ​หก้​ ่อต​ ั้งพ​ รรคการเมืองข​ ึ้นไ​ด้ เหตนุ​ ี้ การเ​ปลี่ยนแปลงใ​นค​ รั้งน​ ี้ จึงเ​ป็นล​ ักษณะ​
คงที่​และ​ถอย​หลัง ไม่มี​ความ​ก้าวหน้า​ไป​สู่​แนวทาง​การ​พัฒนาการ​เมือง​การ​ปกครอง​ระบอบ​ประชาธิปไตย​
เหมือนก​ ับร​ ัฐธรรมนูญ​ฯ พ.ศ. 2492

       สถาบนั พ​ ระม​ หาก​ ษตั รยิ ์บางส​ ว่ นย​ ดึ ต​ ามร​ ฐั ธรรมนญู ฯพ.ศ.2492คอื การห​ า้ มฟ​ อ้ งร​ อ้ งพ​ ระม​ หาก​ ษตั รยิ ์
ไม่​ว่าก​ รณี​ใดๆ และก​ ำ�หนดใ​ห้​มีค​ ณะอ​ งคมนตรี ทำ�​หน้าที่ถ​ วายค​ ำ�​ปรึกษาแ​ ด่​พระม​ หา​กษัตริย์ส​ ่วน​ที่​ยึดต​ าม​
รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2475 ก็ค​ ือ พระ​ราช​อำ�นาจ​ใน​การแ​ ต่ง​ตั้ง​สมาชิก​สภา​ผู้​แทนร​ าษฎรป​ ระเภทท​ ี่ 2 แต่​ก็เ​ป็น​
เพียง​ใน​หลัก​การ​เพราะ​ใน​ความ​เป็น​จริง ฝ่าย​ผู้นำ�​คณะ​รัฐประหารเ​ป็น​ผู้​เสนอ​แต่ง​ตั้ง พระ​ราช​อำ�นาจ​นี้​จึง​ไม่​
อิสระ​เหมือนก​ ับร​ ัฐธรรมนูญ​ฯ พ.ศ. 2492

       สถาบัน​รัฐสภา ใช้​ระบบส​ ภาเ​ดียว สมาชิก 2 ประเภท เหมือนก​ ับฉบับ พ.ศ. 2475 โดย​ให้มีจำ�นวน​
เท่า​กัน ประเภท​ที่ 1 มา​จาก​การ​เลือก​ตั้ง​ของ​ประชาชน ตาม​สัดส่วน​จำ�นวน​ประชากร ประเภท​ที่ 2
พระ​มหาก​ ษัตริย์ท​ รง​แต่งต​ ั้ง และ​ในร​ ะหว่าง​ที่​ยังไ​ม่มี​การ​เลือก​ตั้งป​ ระเภท​ที่ 1 ก็​ให้​ประเภท​ที่ 2 ทำ�​หน้าที่ไ​ป​
พลาง​ก่อน (บทเฉพาะกาล) วาระ​การ​ดำ�รง​ตำ�แหน่ง 5 ปี อำ�นาจ​หน้าที่​สำ�คัญ​คือ การ​ตรา​กฎหมาย​และ​การ​
ควบคุมการบ​ ริหารง​ านข​ องค​ ณะร​ ัฐมนตรี รวมท​ ั้งก​ ารข​ อเ​ปิดอ​ ภิปรายไ​มไ่​วว้​ างใจค​ ณะร​ ัฐมนตรีเ​ป็นร​ ายบ​ ุคคล​
หรือ​ทั้ง​คณะ

       ตาม​โครงสร้าง​ดัง​กล่าว​นี้ สถาบัน​รัฐสภา​จึง​ไม่​เอื้อ​ต่อ​การ​พัฒนาการ​เมือง​การ​ปกครอง​ระบอบ​
ประชาธิปไตย อย่างไร​ก็ตาม รัฐธรรมนูญ​ก็ได้​วาง​เงื่อนไข​การ​เปลี่ยนแปลง​องค์​ประกอบ​ของ​รัฐสภา​ไว้​เป็น​
ขั้น​ตอน​ด้วย คือ ระยะ 5 ปีแ​ รก ให้ล​ ด​จำ�นวนส​ มาชิกป​ ระเภท​ที่ 2 ลงค​ รึ่งห​ นึ่ง ตามเ​กณฑ์ข​ อง​ประชาชนท​ ี่​จบ​
การ​ศึกษา​ระดับ​ประถม​ศึกษา​มี​จำ�นวน​เกิน​กว่า​กึ่ง​หนึ่ง​ของ​ประชาชน​ที่​มี​สิทธิ​์เลือก​ตั้ง​ทั้งหมด​ใน​จัง​หวัด​นั้นๆ
สมาชิกป​ ระเภทท​ ี่ 2 กต็​ ้องอ​ อกจ​ ากต​ ำ�แหน่งเ​ท่ากับจ​ ำ�นวนส​ มาชิกป​ ระเภทท​ ี่ 1 ทีเ่​ลือกต​ ั้งข​ ึ้นใ​นจ​ ังหวัดน​ ั้น ระยะ​
ที่​สอง เมื่อค​ รบ​เวลา 10 ปี ก็​ให้​เหลือ​เพียงส​ มาชิก​ประเภท​ที่ 1 เท่านั้น
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65