Page 65 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 65
โครงสร้าง และสถาบันการเมืองการปกครองของไทย 5-55
กค็ อื พรรคข องก ลุม่ ช นชัน้ น �ำ ทางก ารเมอื งเพยี งไมก่ พี่ รรค ทสี่ �ำ คญั ก ค็ อื พรรคส หป ระชาไทย ทมี่ จี อมพลถ นอม
กิตติข จร เป็นห ัวหน้าพ รรคแ ละม ีบรรดาผู้นำ�ทหาร ตำ�รวจ ข้าราชการพ ลเรือน และนักการเมืองคนสำ�คัญใน
หลายจ ังหวัดเป็นส มาชิก และพ รรคป ระชาธิปัตย์ ที่ม ี ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช เป็นห ัวหน้าพ รรค หลังจ ากท ี่ นาย
ควง อภัยวงศ์ อดีตห ัวหน้าพ รรค สมาชิกค นห นึ่งของคณะราษฎรได้ถึงแก่อสัญกรรม สมาชิกค นสำ�คัญ ก็ค ือ
อดีต ส.ส. หลายค นทั้งในเขตก รุงเทพฯ และในอ ีกห ลายจังหวัด ส่วนการเลือกต ั้งท ั่วไป ได้เกิดขึ้นค รั้งเดียว
ใน พ.ศ. 2512 แต่ก็เกิดก รณีก ารทุจริตและการห าเสียงด้วยวิธีก ารใช้เงินและส ิ่งของ “แลกเปลี่ยน” คะแนน
เสียงกับผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งที่ยากจนและขาดความสำ�นึกในสิทธิและเสรีภาพทางการเมืองของตนเองอย่าง
กว้างข วาง* ทำ�ให้เห็นได้ชัดเจนว่า พรรคการเมืองย ังค งขาดก ารพ ัฒนา และช นชั้นน ำ�ทางการเมืองยังมุ่งห วัง
เพยี งก ารใชพ้ รรคการเมอื งเปน็ “เครือ่ งม อื ” ทสี่ รา้ งค วามช อบธ รรมในก ารเขา้ ส อู่ �ำ นาจท างการเมอื งเทา่ นัน้ และ
การเลือกต ัง้ ก เ็ ปน็ เพียง “พิธีกรรม” เพื่อร องรบั ก ารเขา้ ส ูอ่ ำ�นาจท างการเมืองอ ยา่ งม คี วามช อบธ รรมข องบ รรดา
นักการเมืองและกลุ่มผู้นำ�ทางการเมืองเป็นหลักสำ�คัญเช่นเดียวกัน
โครงสรา้ ง และส ถาบันท างการเมืองก ารป กครองภ ายใตร้ ัฐธรรมนญู ฯ พ.ศ. 2511 จงึ ไมไ่ดว้ างพ ื้นฐ าน
ให้เกิดค วามเข้มแ ข็งแ ละม ีเสถียรภาพข องร ะบบก ารเมืองให้เกิดข ึ้นได้เลยในท างป ฏิบัติ การจ ัดแ บ่งแ ยกท ี่มา
อำ�นาจหน้าที่ และจัดวางความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันนิติบัญญัติและบริหาร ก็เป็นเพียงเจตนาที่กลุ่มผู้นำ�
ทหารท ี่ม ีอ ิทธิพลต ่อส ภาร ่างร ัฐธรรมนูญ ต้องการอ ยู่ในต ำ�แหน่งท างการเมืองต ่อไป โดยไม่ต ้องถ ูกต รวจส อบ
ควบคมุ อ ยา่ งจ รงิ จงั จ ากส ภา และไมต่ อ้ งต อ่ ร อง หรอื ต อ้ งเอาใจ ส.ส. ทตี่ อ้ งการผ ลป ระโยชนแ์ ลกเปลีย่ นม ากน กั
หรือกล่าวได้อ ีกอย่างห นึ่งว ่า ต้องการแ ยกข้าราชการป ระจำ�กับข ้าราชการก ารเมืองอ อกจ ากกัน โดยต้องการ
ให้ข้าราชการประจำ�เป็น ส.ว. และคณะรัฐมนตรี แต่ ส.ส. หรือข้าราชการการเมืองบางส่วนก็เป็นพวกพ้อง
หรือฝ่ายสนับสนุนร ัฐบาลที่เหลือก็ท ำ�หน้าที่ด้านนิติบัญญัติเป็นหลัก ส่วนการต รวจสอบ ควบคุมฝ ่ายบริหาร
ก็อาจท ำ�ได้น ้อยลง และไม่เข้มแข็งจริงจังม ากน ัก
อย่างไรก็ตาม จอมพลถนอม กิตติขจร และพวกพ้องทหาร ก็ไม่สามารถอดทนกับการเรียกร้อง
ผลป ระโยชนต์ ่างๆ ของ ส.ส. ในพ รรคส หป ระชาไทยแ ละส ่วนท ีส่ นับสนุนร ัฐบาลได้น านน ัก เพราะ ส.ส. เหล่าน ี้
สามารถน ำ�เงื่อนไขก ารล งม ตใินส ภาเพื่อผ ่านก ฎหมายแ ละน โยบายท ี่ร ัฐบาลน ำ�เสนอม าต ่อร องอ ยูเ่สมอ ดังน ั้น
จอมพลถนอม กิตติขจร จึงนำ�คณะผ ู้นำ�ทหารแ ละข ้าราชการทำ�รัฐประหารยึดอ ำ�นาจจากรัฐบาลของตัวเองใน
วันท ี่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 แล้วป ระกาศยกเลิกใช้รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2511
9. ภายใต้รฐั ธรรมนูญฯ พ.ศ. 2515
“ธรรมนูญก ารป กครองราชอ าณาจักร พ.ศ. 2515” มีสาระสำ�คัญเหมือนก ับฉบับ พ.ศ. 2502 เกือบ
ทัง้ หมด หรอื อ าจก ลา่ วไดว้ า่ เปน็ การน �ำ รฐั ธรรมนญู ฯ พ.ศ. 2502 มาเขยี นเพิม่ เตมิ ข ึน้ เล็กน อ้ ย เหตนุ ี้ โครงสร้าง
และสถาบันท างการเมืองการปกครองภ ายใต้รัฐธรรมนูญฉ บับนี้ จึงเหมือนกับฉบับ พ.ศ. 2502
*กรณีท ี่รู้จักก ันด ี ก็คือ “ส.ส. กินจ อบก ินเสียม” จากก ารนำ�จอบแ ละเสียมที่ร ัฐบาลจัดม อบให้ไปแ จกจ่ายแก่เกษตรกร แต่
กลับน ำ�ไปขายให้ร ้านค้า การแจกป ลาท ูเค็ม แจกห มูแก่ชาวนาที่อ ยู่ในไร่น า หรือแม้แต่ก ารแจกรองเท้าให้ 1 ข้าง ก่อน อีกข ้างหนึ่งให้ม า
รับหลังจ ากการเลือกต ั้ง เมื่อผู้แจกได้รับชัยชนะในก ารเลือกต ั้งแ ล้ว