Page 67 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 67
โครงสร้าง และสถาบันการเมืองการปกครองของไทย 5-57
เร่อื งท ี่ 5.2.4 โครงสร้าง และส ถาบันท างการเมอื งการปกครอง
ของไทย ระหวา่ ง พ.ศ. 2516-2554
ในช ว่ งเวลาป ระมาณ 38–39 ปี ไดเ้กดิ ก ารเปลีย่ นแปลงร ฐั ธรรมนูญถ ึง 10 ฉบับ และม ผี ลใหโ้ครงสรา้ ง
และสถาบันทางการเมืองการปกครองอย่างเป็นทางการเปลี่ยนแปลงไปด้วยทุกครั้ง ในบางครั้งก็มีความ
แตกต่างกันในสาระสำ�คัญหลายลักษณะ ในขอบเขตกว้างๆ ก็เกิดลักษณะประชาธิปไตยมากกว่าเดิม ใน
ช่วง พ.ศ. 2517–2519 และกลายเป็นเผด็จการ ในช ่วง พ.ศ. 2519–2521 ก่อนท ี่จะเปลี่ยนแปลงเป็น “กึ่งๆ
ประชาธิปไตย” ในช ่วง พ.ศ. 2521–2534 หลังจ ากน ั้นก ็เปลี่ยนไปคล้ายคลึงก ับร ัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2515 ใน
ช่วงส ั้นๆ ก่อนท ี่จะเกิดแนวทาง “กึ่งประชาธิปไตย” อีกค รั้งในช่วง พ.ศ. 2535–2540 โดยได้เกิดเหตุการณ์
รุนแรงท างการเมืองอีกครั้งหนึ่งในช่วง พ.ศ. 2535 ก่อนที่จ ะเกิดพลังผ ลักด ันการปฏิรูปทางการเมืองในช่วง
หลังจ ากน ั้น จนน ำ�มาส ู่ก ารป ฏิรูปก ารเมืองแ ละเกิดก ารพ ัฒนาป ระชาธิปไตยอ ีกค รั้ง ระหว่าง พ.ศ. 2540–2549
การร ัฐประหารท ำ�ให้เกิดป ัญหาก ารเปลี่ยนแปลงท างการเมืองร ะหว่าง พ.ศ. 2549–2550 ภายห ลังก ารป ระกาศ
ใชร้ ัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2550 สถานการณท์ างการเมืองจ ึงไมเ่กิดค วามเป็นร ะเบียบม ากน ัก แม้ว่าโครงสร้าง และ
สถาบันท างการเมืองจ ะมีค วามก ้าวหน้าแ ละทันสมัยม ากขึ้นก็ตาม
1. ภายใตร้ ฐั ธรรมนูญฯ พ.ศ. 2517
รัฐธรรมนูญฉบับนี้ยกร่างขึ้นโดย คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ จำ�นวน 18 คน ที่นำ�เอากรอบ
รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2492 มาร่วมพ ิจารณา และเปิดร ับฟ ังความคิดเห็นของประชาชนและคนก ลุ่มต ่างๆ ด้วย
ในภาวะที่ประชาชนในเขตกรุงเทพฯ และเมืองใหญ่มีความตื่นตัวทางการเมืองสูงขึ้น แต่ในทางตรงกันข้าม
อิทธิพลทางการเมืองของทหารก็ยังคงมีอยู่สูง สาระสำ�คัญและโครงสร้างทางการเมืองการปกครองจึงมีทั้ง
ส่วนท ี่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม และส ่วนที่คงใช้แ บบเดิม
สถาบันพระมหากษัตริย์ มีบทบัญญัติเกี่ยวกับพระมหากษัตริย์ไว้หลายประเด็นคล้ายคลึง
กับรัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2492 รวมทั้งกำ�หนดให้มีคณะองคมนตรีที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งขึ้นเป็น
คณะที่ปรึกษาของพระม หาก ษัตริย์ การส ืบส ันตติวงศ์ต ามก ฎม ณเฑียรบ าล พ.ศ. 2467 นอกจากน ั้น ก็เป็น
พระราชอำ�นาจต ามจ ารีตประเพณี
พระมหาก ษัตริย์ ยังคงมีพ ระราชอำ�นาจในการแ ต่งต ั้งน ายกรัฐมนตรี ในการแต่งต ั้งสมาชิกวุฒิสภา
ในทางปฏิบัติประธานองคมนตรีเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในมาตรา 229 บัญญัติว่า
“พระม หาก ษัตริย์ย่อมทรงไว้ซึ่งพ ระร าชอ ำ�นาจที่จ ะให้ป ระชาชนทั้งประเทศออกเสียงประชามติเห็นช อบห รือ
ไม่เห็นช อบด ้วยร่างร ัฐธรรมนูญ (ที่มีก ารแก้ไข) นั้น”