Page 72 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 72

5-62 การเมืองการปกครองไทย

       สถาบันพ​ ระม​ หา​กษัตริย์ มีบ​ ทบัญญัติเ​กี่ยว​กับ​สถานะ​องค์พ​ ระป​ ระมุขข​ อง​ชาติ และอ​ ื่นๆ ที่​ยึด​ตาม​
จารีต​ประเพณี​เดิม รวมท​ ั้งก​ าร​สืบ​สันตติว​ งศ์ ตามก​ ฎม​ ณเฑียร​บาล พ.ศ. 2467 พระร​ าชอ​ ำ�นาจต​ ่างๆ รวมท​ ั้ง​
พระ​ราชอ​ ำ�นาจ​ใน​เชิง​จารีตป​ ระเพณี คือก​ ารแ​ ต่งต​ ั้งน​ ายกร​ ัฐมนตรี และส​ มาชิก​วุฒิสภา

       สถาบันร​ ัฐสภา ประกอบด​ ้วย วุฒิสภา กับส​ ภาผ​ ู้​แทนร​ าษฎร และเ​ป็น “ผู้แ​ ทน​ของ​ปวงช​ น​ชาวไ​ทย”
หน้าที่​โดย​ทั่วไป คือ การ​ตรา​กฎหมาย การ​อนุมัติ​พระ​ราช​บัญญัติ​งบ​ประมาณ​ราย​จ่าย​แผ่นดิน และ​อำ�นาจ​
ควบคุม​การ​บริหาร​ราชการ​แผ่นดิน ใน​การป​ ระชุม​รัฐสภา ประธาน​วุฒิสภาเ​ป็นป​ ระธาน​รัฐสภา นายก​รัฐมนตรี​
เสนอร​ าย​ชื่อท​ ูลเกล้าฯ ถวาย​พระ​มหา​กษัตริย์​เพื่อแ​ ต่งต​ ั้ง ส.ว. จาก​ผู้ท​ ี่​มีอายุ 35 ปีข​ ึ้น​ไป ไม่เ​ป็นส​ มาชิกพ​ รรค​
การ​เมืองใ​ดๆ ทั้งหมด​มีจ​ ำ�นวนไ​ม่​เกิน 3 ใน 4 ของ​จำ�นวน ส.ส. มีว​ าระ 6 ปี เมื่อ​ครบ 6 ปี ก็ห​ มด​วาระ และ​มี​
การแ​ ตง่ ต​ ัง้ ใ​หมโ​่ ดยอ​ ดีต ส.ว. สามารถไ​ดร​้ บั ก​ ารแ​ ตง่ ต​ ั้งใ​หมไ​่ ด้ อำ�นาจห​ นา้ ทีว่​ ฒุ ิสภาใ​นช​ ว่ ง 4 ปแี​ รก “เทา่ เ​ทียม​
กับส​ ภา​ผู้แ​ ทนร​ าษฎร” ส่วน​สภา​ผู้แ​ ทน​ราษฎร สมาชิกม​ าจ​ ากก​ ารเ​ลือก​ตั้งโ​ดยตรงข​ อง​ประชาชน คิดส​ ัดส่วน​
ประชากร 150,000 คน ต่อ ส.ส. 1 คน กำ�หนด​ให้​ผู้​สมัครต​ ้องส​ ังกัดพ​ รรคการเมือง และ​พรรคการเมือง​ที่​ม​ี
สิทธิ์แ​ ข่งขันใ​นก​ ารเ​ลือกต​ ั้งต​ ้องส​ ่งผ​ ู้ส​ มัครท​ ั้งหมดร​ วมก​ ันไ​ม่น​ ้อยก​ ว่าก​ ึ่งห​ นึ่งข​ องจ​ ำ�นวน ส.ส. ทั้งหมด อำ�นาจ​
หน้าท​ ีห่​ ลักๆ คือก​ ารพ​ ิจารณาแ​ ละอ​ อกก​ ฎหมาย การค​ วบคุม ตรวจส​ อบก​ ารท​ ำ�งานข​ องค​ ณะร​ ัฐมนตรี ด้วยก​ าร​
ตั้งก​ ระทู้ถ​ าม และข​ อ​เปิด​อภิปราย​ทั่วไปเ​พื่อล​ ง​มติ​ไม่​ไว้​วางใจ​คณะ​รัฐมนตรี​เป็น​รายบ​ ุคคลแ​ ละท​ ั้ง​คณะ

       สถาบัน​บริหาร คือ คณะ​รัฐมนตรี ประกอบ​ ด้วย​นายก​รัฐมนตรี 1 คน และ​รัฐมนตรี​อีก​ไม่​เกิน
40 คน ประธาน​รัฐสภา​ลง​นาม​รับ​สนอง​พระบรม​ราชโองการ​แต่ง​ตั้ง​นายก​รัฐมนตรี ห้าม​คณะ​รัฐมนตรี​เป็น​
ข้าราชการ​ประจำ�​ใน​เวลา​เดียวกัน แต่ใ​นบ​ ทเฉพาะกาล​ก็ได้ก​ ำ�หนด​ยกเว้น​ไว้ใ​นช​ ่วง 4 ปี​แรก ทำ�ให้​ข้าราชการ​
ประจำ�​สามารถ​เข้าด​ ำ�รงต​ ำ�แหน่ง​ทางการเ​มืองต​ ่างๆ ได้ รวมท​ ั้ง​คณะร​ ัฐมนตรี ก่อน​เข้า​บริหารร​ าชการ​แผ่นด​ ิน​
ต้องแ​ ถลงน​ โยบายต​ ่อร​ ัฐสภาโ​ดยไ​ม่มีก​ ารล​ งม​ ติค​ วามไ​ว้ว​ างใจ แต่ต​ ้องบ​ ริหารง​ านโ​ดยร​ ับผ​ ิดช​ อบร​ ่วมก​ ันแ​ ละ​
เฉพาะ​ตนต​ ่อส​ ภา​ผู้แ​ ทนร​ าษฎร

       สถาบัน​ตุลาการ ยัง​คง​เป็น​ระบบ​ศาล​เดียว คือ ศาล​ยุติธรรม และ​บัญญัติ​ไว้​ถึง​ความ​เป็น​อิสระ​
ของ​ศาล​และ​ผู้​พิพากษา​ใน​การ​พิจารณา​พิพากษา​อรรถ​คดี​ต่างๆ โดย “ต้อง​ดำ�เนิน​การ​ตาม​กฎหมาย​และ​ใน​
พระป​ รมาภิไธย​พระ​มหา​กษัตริย์”

       ส่วน​อำ�นาจ​ใน​การ​พิจารณา​วินิจฉัย​ว่า กฎหมาย​ใด​ขัด​หรือ​แย้ง​กับ​รัฐธรรมนูญ​หรือ​ไม่ รัฐธรรมนูญ​
กำ�หนด​ให้ม​ ีค​ ณะ​ตุลาการร​ ัฐธรรมนูญ จำ�นวน 7 คน เป็นฝ​ ่าย​ทำ�​หน้าที่ มีป​ ระธานร​ ัฐสภาเ​ป็นป​ ระธานต​ ุลาการ​
รัฐธรรมนูญ

       ใน​ด้านพ​ รรคการเมือง มี​บทบัญญัติ​ให้ป​ ระชาชน​สามารถ​จัดต​ ั้งพ​ รรคการเมือง​ได้ แต่ใ​ห้​เป็น​ไป​ตาม​
กรอบก​ ฎหมายพ​ รรคการเมอื งท​ ีจ่​ ะม​ กี​ ารต​ ราข​ ึ้นใ​นภ​ ายห​ ลัง ทั้งนี้ ผูส้​ มัครร​ บั เ​ลือกต​ ัง้ ต​ ้องส​ ังกดั พ​ รรคการเมือง​
พรรค​เดียว และ​พรรคการเมือง​ต้อง​ส่ง​ผู้​สมัคร​เกิน​กว่า​กึ่ง​หนึ่ง​ของ​จำ�นวน ส.ส. ทั้งหมด​ใน​การ​เลือก​ตั้ง​
ครั้งน​ ั้น ถ้าส​ ่งไ​ดไ้​มค่​ รบก​ ใ็​หย้​ ุบพ​ รรคการเมืองน​ ั้นเ​สีย พรรคการเมืองต​ ้องส​ ่งผ​ ูส้​ มัครใ​นแ​ ต่ละเ​ขตเ​ลือกต​ ั้งเ​ป็น​
คณะ​และส​ ่งไ​ด้ค​ ณะ​เดียวใ​นแ​ ต่ละเ​ขต เมื่อ​ส่งแ​ ล้ว​จะถ​ อน​การส​ มัครม​ ิได้ นอกจาก​นั้น ยังก​ ำ�หนด​ให้ ส.ส. ที​่
ถูก​พรรคการเมืองท​ ี่​สังกัดข​ ับ​ออก​จาก​สมาชิกพ​ รรค​ต้อง​พ้นจ​ ากส​ มาชิกภ​ าพ ส.ส. ด้วย และ ส.ส. จะเ​สนอร​ ่าง​
กฎหมาย​ได้เ​มื่อพ​ รรคท​ ี่ส​ ังกัดม​ ีม​ ติใ​ห้เ​สนอไ​ด้ และม​ ี ส.ส. ของพ​ รรคร​ ับรองไ​ม่น​ ้อยก​ ว่า 20 คน ต่อม​ าใ​น พ.ศ.
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77