Page 74 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 74
5-64 การเมืองการปกครองไทย
5. ภายใตร้ ัฐธรรมนญู ฯ วนั ท ่ี 1 มนี าคม พ.ศ. 2534
รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2521 สิ้นส ุดลงจ ากผลของการรัฐประหาร วันท ี่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 เมื่อ
ความข ัดแ ย้งในเชิงอ ำ�นาจอ ิทธิพลแ ละผ ลป ระโยชน์ข องพ ลังท ุน หรือ “ธนาธิปไตย” ที่โน้มเอียงเข้มแ ข็งข ึ้นใน
ยุคนี้ หลังจ ากม ีก ารเลือกต ั้งทั่วไปถึง 4 ครั้ง ใน พ.ศ. 2522 พ.ศ. 2526 พ.ศ. 2529 และ พ.ศ. 2531 กับผ ู้นำ�
ฝ่ายทหาร ตำ�รวจ และข ้าราชการพลเรือน หรือ “พลังอ ำ�มาตย าธิปไตย” แต่สุดท้าย “ปืน” ก็เข้าย ึดอ ำ�นาจไว้
และประกาศใช้รัฐธรรมนูญฯ ว ันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2534 ให้เป็นฉ บับช ั่วคราว เพราะบ ัญญัติค ล้ายคลึงก ับ
รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2520 คือ ให้จ ัดการเลือกต ั้งท ั่วไปข ึ้นภายใน พ.ศ. 2534 แต่ถ้าไม่ทันก็ให้ข ยายเวลาอ อก
ไปอ ีก 120 วัน
โครงสร้าง และส ถาบันท างการเมืองก ารป กครองต ามร ัฐธรรมนูญฉ บับน ี้ จึงม ีล ักษณะค ล้ายคลึงก ับ
รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2520 คือ โครงสร้างเผด็จการอำ�นาจนิยม และการร วมศูนย์อ ำ�นาจมาอ ยู่ที่นายกรัฐมนตรี
และ/หรือป ระธานสภา “รักษาค วามสงบเรียบร้อยแห่งชาติ” หรือ รสช. กล่าวค ือ กำ�หนดให้มีส ภานิติบัญญัติ
แห่งช าติ ทำ�หน้าที่ร ัฐสภา สมาชิกจำ�นวน 200–300 คน มาจากก ารแ ต่งต ั้ง ทำ�หน้าที่จ ัดท ำ�รัฐธรรมนูญฉ บับใหม่
และก ารพ ิจารณาร ่างพ ระร าชบ ัญญัตทิ ี่เสนอโดยค ณะร ัฐมนตรี ใหม้ ี “สภาร ักษาค วามส งบเรียบร้อยแ ห่งช าติ”
สมาชิกม าจ ากผ ู้นำ�ในค ณะร ัฐประหาร พ.ศ. 2534 โดยป ระธานส ภาร ักษาฯ เป็นผ ู้นำ�เสนอช ื่อน ายกร ัฐมนตรขี ึ้น
ทลู เกลา้ ฯ ถวายเพือ่ ใหท้ รงแ ตง่ ต ัง้ สภาร กั ษาฯ ยงั ร ว่ มก �ำ หนดน โยบายส าธารณะร ว่ มก บั ค ณะร ฐั มนตรี สว่ นฝ า่ ย
บรหิ าร คอื คณะร ฐั มนตรี ในท างป ฏบิ ตั กิ ม็ าจ ากบ คุ คลท คี่ ณะร ฐั ประหาร (คณะ รสช.) แตง่ ต ัง้ แ ละร ว่ มใชอ้ �ำ นาจ
ฉุกเฉินค ล้ายคลึงก ับร ัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2520 ร่วมก ับป ระธานส ภาร ักษาความสงบเรียบร้อยแห่งช าติ
สถาบันต ุลาการ กย็ ังค งก ำ�หนดใหม้ อี ิสระในก ารพ ิจารณาพ ิพากษาอ รรถค ดตี ่างๆ และเป็นร ะบบศ าล
เดียว คือ ศาลยุติธรรม
6. ภายใตร้ ฐั ธรรมนญู ฯ วนั ท ่ี 9 ธนั วาคม พ.ศ. 2534
รัฐธรรมนูญฉ บับนี้ จัดโครงสร้าง และส ถาบันท างการเมืองก ารป กครองคล้ายคลึงก ับร ัฐธรรมนูญฯ
พ.ศ. 2521 จึงเป็นการพ ยายามจ ะน ำ�เอาโครงสร้างท างการเมือง “กึ่งป ระชาธิปไตยก ึ่งอ ำ�มาต ย าธิปไตย” กลับ
มาใชอ้ กี ค รั้ง แตก่ ม็ กี ารก �ำ หนดใหม้ อี งคก์ รท างการเมอื งใหมข่ ึ้นผ สมผ สานก บั ส ถาบนั ท างการเมืองห ลกั ๆ แบบ
เดิมข ึ้นท ำ�หน้าที่อ ยู่ภายในโครงสร้างท างการเมืองดังกล่าวน ี้
สถาบันพ ระมหาก ษัตริย์ บัญญัติไว้เกี่ยวก ับสถานภาพของพ ระมหากษัตริย์ “ฐานะอ ันเป็นท ี่เคารพ
สักก าร ะ ผู้ใดจะล ะเมิดม ิได้” ทรงเป็นพ ุทธมามกะ และทรงเป็นอ ัครศาสนูปถัมภก และอื่นๆ เหมือนกับห ลาย
ฉบับก่อนหน้านี้ ส่วนพระราชอำ�นาจอื่นๆ ก็บัญญัติไว้ตามจารีตประเพณี และมักจะปรากฏในรัฐธรรมนูญ
หลายฉ บับท ีเ่กดิ ข ึน้ ภ ายห ลังก ารร ัฐประหาร รวมท ั้งฉ บับน ี้ เช่น การแ ต่งต ั้ง ส.ว. และก ารแ ต่งต ั้งน ายกร ัฐมนตรี
เป็นต้น
สถาบันน ิติบัญญัติ ใช้ร ะบบร ัฐสภา ประกอบด ้วย 2 สภา คือ วุฒิสภาแ ละส ภาผ ู้แ ทนร าษฎร ประธาน
วุฒิสภาเป็นป ระธานร ัฐสภา วุฒิสภา มีสมาชิกจำ�นวน 270 คน พระม หากษัตริย์ทรงแ ต่งต ั้งจากผ ู้ทรงค ุณวุฒิ
ซึ่งมีความรู้ความชำ�นาญในวิชาการหรือวิชาชีพต่างๆ ...” โดยมีข้อห้ามไว้หลายอย่าง เช่น ไม่เป็นสมาชิก