Page 78 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 78

5-68 การเมืองการปกครองไทย

5 ของ ส.ส. ทั้งหมดเ​ท่า​ที่​มี​อยู่​ในส​ ภา โดย​ต้อง​เสนอ​ชื่อ​ผู้ส​ มควรเ​ป็น​นายกร​ ัฐมนตรี​คนต​ ่อไ​ป​ด้วย ถ้าญ​ ัตต​ิ
ขอ​เปิด​อภิปราย​ดัง​กล่าว​เป็น​เรื่อง​เกี่ยว​กับ​พฤติการณ์​รํ่ารวย​ผิด​ปกติ ส่อ​ไป​ใน​ทาง​ทุจริต ส.ส. ต้อง​เข้า​ชื่อ
ไ​มน่​ ้อยก​ ว่า 1 ใน 4 ของส​ ภาเ​พื่อเ​สนอถ​ อดถอนน​ ายกร​ ัฐมนตรอี​ อกจ​ ากต​ ำ�แหน่งต​ ่อค​ ณะก​ รรมการป​ ้องกันแ​ ละ​
ปราบป​ รามก​ าร​ทุจริตแ​ ห่ง​ชาติ (ป.ป.ช.) ผ่าน​ทาง​ประธาน​วุฒิสภา​ก่อน

       วฒุ สิ ภา สมาชกิ 200 คน มาจ​ ากก​ ารเ​ลอื กต​ ัง้ โ​ดยตรงข​ องป​ ระชาชน โดยใ​ชเ​้ ขตจ​ งั หวดั เ​ปน็ เ​ขตเ​ลอื กต​ ัง้
และ​กระจาย​จำ�นวน ส.ว. ตาม​สัดส่วนป​ ระชากรข​ อง​แต่ละจ​ ังหวัด โดยผ​ ู้ส​ มัครฯ ต​ ้อง​ไม่ส​ ังกัด​พรรค และต​ ้อง​
ไมห่​ าเ​สยี ง เพียงแ​ ตใ​่ ห้ “แนะนำ�​ตวั เ​อง” เทา่ นัน้ ทั้งนี้ กกต. จะ​ทำ�​หนา้ ทีจ่​ ดั เ​วทแี​ นะน�ำ ​ตัวเ​องแ​ ละป​ ระชาสมั พนั ธ​์
เกี่ยวก​ ับก​ ารเ​ลือกต​ ั้ง ส.ว ด้วย ผู้ส​ มัคร ส.ว. ต้องม​ ีอายุต​ ั้งแต่ 40 ปีข​ ึ้นไ​ป จบก​ ารศ​ ึกษาข​ ั้นต​ ํ่าร​ ะดับป​ ริญญาต​ รี
อ�ำ นาจห​ นา้ ที่ ส.ว. คอื ก​ ารพ​ จิ ารณาแ​ ละอ​ นมุ ตั ร​ิ า่ งก​ ฎหมาย การพ​ จิ ารณาแ​ ละล​ งม​ ตเ​ิ ลอื กผ​ ทู​้ จี​่ ะเ​ขา้ ด​ �ำ รงต​ �ำ แหนง่ ​
ในอ​ งค์กร​อิสระต​ ่างๆ เช่น กกต. และ ป.ป.ช. เป็นต้น และก​ าร​ควบคุม​การ​บริหารร​ าชการ​แผ่นดิน ด้วยก​ ารต​ ั้ง​
กระทู้ถ​ าม และ ส.ว. จำ�นวน​ไม่น​ ้อยก​ ว่า 3 ใน 5 ของท​ ั้งหมดเ​ท่าท​ ี่ม​ ีอ​ ยู่ สามารถเ​ข้าช​ ื่อข​ อ​เปิดอ​ ภิปรายท​ ั่วไปใ​น​
วุฒิสภา เพื่อ​ให้​คณะร​ ัฐมนตรีแ​ ถลงข​ ้อ​เท็จจ​ ริง หรือช​ ี้แจงป​ ัญหา​ต่างๆ โดย​ไม่มี​การ​ลงม​ ติ

       สถาบัน​บริหาร คือ คณะร​ ัฐมนตรี ประกอบ​ด้วย นายกร​ ัฐมนตรี 1 คน และ​รัฐมนตรีอ​ ื่นอ​ ีกไ​ม่เ​กิน
35 คน ทำ�​หน้าที่บ​ ริหาร​ราชการ​แผ่นดิน นายก​รัฐมนตรี​ต้อง​เป็น ส.ส. หรือเ​คย​เป็น ส.ส. แต่ไ​ด้ร​ ับ​แต่ง​ตั้งเ​ป็น​
นายก​รัฐมนตรี หรือ​รัฐมนตรี ประธาน​สภา​ผู้​แทน​ราษฎร​ลง​นาม​รับ​สนอง​พระบรม​ราชโองการ​แต่ง​ตั้ง​
นายกร​ ัฐมนตรี โดยส​ ภาผ​ ู้​แทน​ราษฎรต​ ้อง​เลือกน​ ายกร​ ัฐมนตรี​ให้เ​สร็จภ​ ายใน 30 วัน นับแ​ ต่​วัน​เรียกป​ ระชุม​
รัฐสภาค​ รั้ง​แรก การเ​สนอ​ชื่อผ​ ู้​สมควร​เป็นน​ ายกร​ ัฐมนตรีต​ ้องม​ ี ส.ส. อย่าง​น้อย 1 ใน 5 ของจ​ ำ�นวนท​ ั้งหมด​
เท่า​ที่​มี​อยู่​รับรอง โดย​มติ​รับรอง​ใน​สภา​ต้อง​มี​มากกว่า​กึ่ง​หนึ่ง​ของ​ทั้งหมด รัฐมนตรี​มี​ข้อ​ห้าม​ดำ�รง​ตำ�แหน่ง​
และ​รับ​ประโยชน์​ต่างๆ เช่น​เดียว​กับ ส.ส. และ​ห้าม​ถือ​หุ้น​ใน​บริษัท และ​ห้าง​หุ้น​ส่วน​ต่างๆ ก่อน​เข้า​ทำ�งาน
คณะร​ ัฐมนตรีต​ ้องแ​ ถลงน​ โยบายต​ ่อร​ ัฐสภา โดยไ​ม่มีก​ ารล​ งม​ ติไ​ว้ว​ างใจ ซึ่ง​ต้องท​ ำ�​ภายใน 15 วัน นับแ​ ต่เ​ข้าร​ ับ​
หน้าที่​และ​ถ้า​คณะ​รัฐมนตรี​เห็น​ว่า​เป็น​เรื่อง​สำ�คัญ​มี​ผลก​ระ​ทบ​ต่อ​ผล​ประโยชน์​ของ​ประเทศ​ชาติ อาจ​ปรึกษา​
ประธานส​ ภาผ​ ู้แ​ ทน​ราษฎรแ​ ละป​ ระธาน​วุฒิสภา เพื่อใ​ห้​มีก​ ารอ​ อก​เสียงล​ งป​ ระชามติ​ในล​ ักษณะ​การข​ อป​ รึกษา​
ความเ​ห็นข​ องป​ ระชาชน และ​นายก​รัฐมนตรี​ยังม​ ีอ​ ำ�นาจ​ในก​ ารย​ ุบ​สภา​ผู้แ​ ทนร​ าษฎร

       สถาบัน​ตุลาการ มี​การ​เปลี่ยนแปลง​เป็น​ระบบ​ศาล​คู่ คือ ศาล​ยุติธรรม กับ​ศาล​อื่นๆ ที่​สำ�คัญ​ใน​
รัฐธรรมนูญ​ฉบับ​นี้ ก็​คือ ศาล​รัฐธรรมนูญ ศาล​ปกครอง และ​ศาล​ฎีกา​แผนก​คดี​อาญา​ของ​ผู้​ดำ�รง​ตำ�แหน่ง​
ทางการเ​มือง ซึ่งน​ ับ​เป็นการเ​ปลี่ยนแปลงโ​ครงสร้าง และส​ ถาบัน​ตุลาการ​ครั้งส​ ำ�คัญค​ รั้งแ​ รกแ​ ละ​มี​ผล​ให้​เกิด​
ระบบ​ศาล​ที่​มี​ความ​เชี่ยวชาญ​และ​ขอบเขต​อำ�นาจ​หน้าที่​เฉพาะ​ด้าน​ขึ้น โดย​เฉพาะ​อย่าง​ยิ่ง​ต่อ​การ​พิจารณา​
พิพากษา​คดีท​ างป​ กครอง​และ​เกี่ยวก​ ับก​ ารเมือง

       องค์​อิสระ​ต่างๆ ที่​สำ�คัญ​คือ กกต. มี​อำ�นาจ​หน้าที่​เกี่ยว​กับ​การ​จัดการ​เลือก​ตั้ง และ​อำ�นาจ
“กึ่ง​ตุลาการ” ใน​การ​ออก​คำ�​สั่ง​ให้​มี​การ​เลือก​ตั้ง​ใหม่​ใน​หน่วย​เลือก​ตั้ง หรือ​ที่​รู้จัก​กัน​ใน​เวลา​ต่อ​มา คือ ให้
“ใบเ​หลือง” กับผ​ ู้ส​ มัครร​ ับเ​ลือกต​ ั้งท​ ี่ช​ นะก​ ารเ​ลือกต​ ั้ง แต่ใ​ห้ส​ ิทธิ์ใ​นก​ ารแ​ ข่งขันเ​ลือกต​ ั้งใ​หม่ และใ​ห้ “ใบแดง”
คือ ไม่มีส​ ิทธิ์​เข้า​แข่งขัน​อีก และต​ ้องถ​ ูก​ดำ�เนิน​คดีท​ างการ​เมือง​ต่อไ​ป ถ้าพ​ บว​ ่าการเ​ลือกต​ ั้ง หรือ​การ​ออก​เสียง​
ประชามติ “เป็น​ไปโ​ดยไ​ม่ส​ ุจริต​และเ​ที่ยง​ธรรม”
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83