Page 76 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 76

5-66 การเมืองการปกครองไทย

โดยจ​ ัดแ​ บ่ง​เขตเ​ลือก​ตั้ง​เขต​ละไ​ม่​เกิน 3 คน หรือ​ใน​ทาง​ปฏิบัติ​จะม​ ี ส.ส. เขตล​ ะ 1–3 คน ผู้​มีส​ ิทธิ​์เลือก​ตั้งท​ ี​่
มีอายุ 20 ปี​ขึ้น​ไป สามารถล​ งค​ ะแนนไ​ด้​ตาม​จำ�นวน ส.ส. ที่​มี​อยู่​ใน​เขต​นั้น

       รัฐธรรมนูญไ​ด้บ​ ัญญัติเ​กี่ยว​กับ “คณะต​ ุลาการร​ ัฐธรรมนูญ” จำ�นวน 10 คน มี​ประธาน​รัฐสภา​เป็น​
ประธาน มีอ​ ำ�นาจห​ น้าที่ว​ ินิจฉัยเ​กี่ยว​กับก​ ฎหมายท​ ี่อ​ าจข​ ัดห​ รือ​แย้งก​ ับร​ ัฐธรรมนูญ และบ​ ทบัญญัติเ​กี่ยวก​ ับ​
การ​ปกครอง​ท้องถ​ ิ่น แต่ไ​ม่มี​การ​เปลี่ยนแปลง​ใน​หลักก​ าร​สำ�คัญ​ใดๆ ใน​แนวทาง​ของ​การก​ระจ​ าย​ อำ�​นาจ​ การ​
ปกครองต​ นเองข​ องป​ ระชาชน

       รัฐธรรมนูญไ​ด้​บัญญัติ “บทเฉพาะกาล” ไว้ ตั้งแต่ม​ าตรา 212–223 เปิดท​ างใ​ห้​สภา​นิติบัญญัติ​แห่ง​
ชาติ​ทำ�​หน้าที่​ต่อ​ไป​จนถึงว​ ันเ​ลือก​ตั้ง ส.ส. คือ​วัน​ที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 และค​ ณะร​ ัฐมนตรีช​ ุด​เดิม​ก็​บริหาร​
งานต​ ่อไ​ปจ​ นกว่าจ​ ะม​ ค​ี ณะร​ ฐั มนตรช​ี ดุ ใ​หม่ และใ​นก​ ารแ​ ต่งต​ ัง้ ส.ว. กใ​็ หป้​ ระธานส​ ภาร​ กั ษาค​ วามส​ งบเ​รยี บร้อย​
แห่ง​ชาติ​เป็น​ผู้​เสนอ​ชื่อ และ​ให้​ประกาศ คำ�​สั่ง ของ​คณะ รสช. มี​ผล​บังคับ​ใช้​ต่อ​ไป การ​แก้ไข​ต้อง​ตรา​เป็น​
พระร​ าชบ​ ัญญัติ

       กล่าว​โดย​สรุป โครงสร้าง และ​สถาบัน​ทางการ​เมือง​การ​ปกครอง ตาม​รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2534
(ฉบับ​ถาวร) จึง​มี​ลักษณะ​โน้ม​เอียง​ไป​ใน​ทาง​กึ่ง​ประชาธิปไตย​คล้ายคลึง​กับ​รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2521 แต่​มี​
การ​เปลี่ยนแปลง​สาระส​ ำ�คัญ​บางอ​ ย่าง แตกต​ ่าง​ไปบ​ ้าง ที่​สำ�คัญ คือ กำ�หนดจ​ ำ�นวน ส.ส. และ ส.ว. ไว้ต​ ายตัว
การเ​พิ่ม​จำ�นวนร​ ัฐมนตรีใ​ห้ม​ าก​ขึ้นก​ ว่า​ทุก​ฉบับก​ ่อน​หน้า​นี้ คือ มีถ​ ึง 48 คน การ​ปรับเ​ปลี่ยน​ระบบเ​ขตเ​ลือก​
ตั้ง​ไปส​ ู่ “ระบบ​แบ่งเ​ขตเ​รียง​เบอร์” ส่วนก​ รณีข​ อง​พรรคการเมือง เจตนารมณ์ข​ อง​รัฐธรรมนูญฉ​ บับน​ ี้​เป็น​ไป​
ตาม​แนวทางร​ ัฐธรรมนูญ​ฯ พ.ศ. 2521 คือต​ ้องการใ​ห้พ​ รรค “ใหญ่​โต” ขึ้น เพราะท​ ี่​ผ่านม​ าม​ ี​พรรค​มาก​เกิน​
ไป​และเ​ป็น​พรรค​เล็กๆ มี ส.ส. 1–10 คน บ้าง หรือ 20–30 คน บ้าง ดังก​ รณี​ช่วง พ.ศ. 2518–2519 หรือ​แม้แต่​
ใน​การเ​ลือก​ตั้ง​ทั่วไป พ.ศ. 2522 ผลก​ระ​ทบ​จาก​สาระ​สำ�คัญ​และเ​จตนารมณ์ด​ ัง​กล่าว​นี้ จึงท​ ำ�ให้ “กลุ่มท​ ุน”
ได้​เปรียบ​คน​กลุ่ม​อื่นๆ ใน​การ​จัด​ตั้ง​พรรค การ​จัด​ส่ง​ผู้​สมัคร​รับ​เลือก​ตั้ง และ​การ​รณรงค์​หา​เสียง​เลือก​ตั้ง
และ “กลุ่ม​งาน” ต่างๆ เริ่มส​ นใจ​เข้า​มา​มีส​ ่วนร​ ่วม​ทางการ​เมืองใ​นล​ ักษณะน​ ี้ม​ ากข​ ึ้น จนส​ าระข​ อง​การ​เลือกต​ ั้ง
การ​จัด​ตั้ง​พรรค​และ​ดำ�เนิน​งาน​ของ​พรรค​โน้ม​เอียง​ไป​เป็น “การเมือง​เรื่อง​เงิน” (Money Politics) หรือ
“ธนาธิปไ​ตย” (Plutocracy) มากข​ ึ้นต​ ามล​ ำ�ดับ และใ​นท​ ี่สุดก​ ็น​ ำ�​ไปส​ ู่ก​ ารเมืองเ​ชิงว​ ิภาษ (Political Dialectic)
คือเ​กิด “เงิน​คืออ​ ำ�นาจ” ต่อสู้ (Anti-thesis) กับอ​ ำ�นาจค​ ือ​ธรรม (Might is Right) หรืออ​ ำ�นาจป​ ืนข​ อง​ฝ่าย​
ทหาร (Thesis) ใน​ภายห​ ลัง​อีก 10–15 ปี​ต่อม​ า

       พลัง​ทาง​สังคม​แรกส​ ุด​คือ “กลุ่ม​ชนชั้นก​ ลาง” (Middle Classes) ใน​เขตเ​มือง​หลวง​และเ​มือง​ใหญ่​
หลาย​จังหวัด ได้​รวม​พลัง​ต่อ​ต้าน​การ​สืบทอด​อำ�นาจ​ของ​ผู้นำ�​คณะ​รัฐประหาร​ใน​เหตุการณ์ “พฤษภา​ทมิฬ”
จนใ​น​ที่สุดก​ ็น​ ำ�​ไป​สู่​การ​แก้ไขร​ ัฐธรรมนูญ​ฉบับ​นี้ รวม 3 ครั้ง ใน พ.ศ. 2535 และอ​ ีก​หลายค​ รั้งร​ ะหว่าง พ.ศ.
2536–2539 จนน​ ำ�​มา​สู่​การเ​กิด “สภา​ร่าง​รัฐธรรมนูญ” ชุดใ​หม่ ใน พ.ศ. 2539–2540
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81