Page 79 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 79
โครงสร้าง และสถาบันการเมืองการปกครองของไทย 5-69
ป.ป.ช. มีอำ�นาจหน้าที่ตรวจสอบความถูกต้องและความมีอยู่จริงของทรัพย์สินและหนี้สินของ
นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี ส.ส. ส.ว. ข้าราชการการเมืองอื่น และผู้บ ริหารแ ละส มาชิก อปท. ทั้งห ลาย ที่ต ้อง
แจ้งบ ัญชที รัพย์สินแ ละห นี้ส ินต ่อ ป.ป.ช. ทั้งช ่วงเข้าร ับต ำ�แหน่งแ ละห ลังพ ้นจ ากต ำ�แหน่ง ถ้าพ บว ่าม ีท รัพย์สิน
เพิ่มข ึ้นผ ิดป กติ ใหป้ ระธาน ป.ป.ช. ส่งเอกสารท ั้งหมดพ ร้อมร ายงานผ ลก ารต รวจส อบไปย ังอ ัยการส ูงสุด เพื่อ
ด�ำ เนนิ ค ดตี อ่ ศ าลฎ กี าแ ผนกค ดอี าญาข องผ ดู้ �ำ รงต �ำ แหนง่ ท างการเมอื ง ทจี่ ะพ จิ ารณาแ ละพ พิ ากษาใหท้ รพั ยส์ นิ
ที่เพิ่มผ ิดปกตินั้นตกเป็นข องร ัฐ
คณะกรรมการต รวจเงินแผ่นดิน (คตง.) และผู้ว่าการต รวจเงินแ ผ่นดิน ทำ�หน้าที่ต รวจเงินแผ่นด ิน
อย่างเป็นอิสระและเป็นกลาง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ทำ�หน้าที่ตรวจสอบและรายงานการ
กระทำ�หรือการละเลยก ารกระทำ�อันเป็นการล ะเมิดส ิทธิม นุษยชน และเสนอมาตรการแก้ไข ต่อร ัฐสภาและ
คณะรัฐมนตรี คณะกรรมการคุ้มครองผ ู้บ ริโภค ทำ�หน้าที่ให้ค วามเห็นในก ารต ราก ฎหมาย กฎแ ละข ้อบังคับ
เกี่ยวก ับม าตรการคุ้มครองผ ู้บริโภค
นอกจากนั้น ก็ม ีองค์กรของร ัฐที่เป็นอิสร ะอื่นๆ อีก เช่น ผู้ตรวจการแ ผ่นดินของร ัฐสภา องค์การของ
รฐั ท �ำ หนา้ ทีจ่ ดั สรรค ลืน่ ค วามถีว่ ิทยกุ ระจายเสยี ง วทิ ยโุทรทศั น์ และว ทิ ยโุทรคมนาคมเพือ่ ป ระโยชนส์ าธารณะ
สภาท ี่ป รึกษาเศรษฐกิจแ ละสังคมแ ห่งชาติ มีหน้าที่ให้ค ำ�ปรึกษาแ ละข ้อเสนอแนะต ่อค ณะร ัฐมนตรีในปัญหา
ต่างๆ เกี่ยวกับเศรษฐกิจและส ังคม
พรรคการเมืองแ ละการเลือกต ั้ง มาตรา 47 “บุคคลย ่อมม ีเสรีภาพ รวมก ันจัดตั้งเป็นพ รรคการเมือง
เพื่อสร้างเจตนารมณ์ทางการเมืองของป ระชาชน ...” พรรคการเมืองม ีสิทธิ์ส ่งผู้สมัครร ับเลือกต ั้ง ทั้ง 2 ระบบ
ในระบบบัญชีรายชื่อ ถ้าได้คะแนนเสียงน้อยกว่าร้อยละ 5 ของจำ�นวนคะแนนเสียงรวมทั้งประเทศ จะไม่
ได้รับการจัดสรรที่นั่ง ทั้งนี้ ผู้สมัครรับเลือกตั้งต้องสังกัดพรรคการเมืองจึงจะสมัครได้ ทั้งนี้ การจัดตั้ง
พรรคการเมืองต้องเริ่มจ ากคน 15 คนขึ้นไป ต้องจ ัดหาสมาชิกให้ได้ตั้งแต่ 5,000 คนขึ้นไปภ ายใน 180 วัน
และมีสิทธิ์ได้รับเงินสนับสนุนการจัดตั้งและพัฒนาสาขาพรรคโดยรัฐ ส่วนการเลือกตั้งนั้นได้ขยายออกไป
สู่การเลือกตั้ง ส.ว. การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของระบบเลือกตั้งและการคิดคะแนนเสียงดังกล่าวมาแล้ว
นอกจากน ั้นย ังเริ่มส ร้างร ะบบก ารเลือกต ั้งใน อปท. ทุกร ูปแ บบอ ีกด ้วย โดยได้ม อบอ ำ�นาจในก ารจ ัดการเลือก
ตั้งท ุกขั้นต อนให้กับ กกต. ที่เป็นอ งค์กรอ ิสระเป็นค รั้งแ รก นอกจากน ั้น การเลือกต ั้งยังถือว่าเป็น “หน้าที่” ผู้
ไม่ไปเลือกตั้งต้องมีโทษตามก ฎหมาย
การเปลี่ยนแปลงที่สำ�คัญอีกส่วนหนึ่งก็คือ การปกครองส่วนท้องถิ่น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง อปท.
5 รูปแ บบ คือ กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา องค์การบ ริหารส ่วนจังหวัด (อบจ.) เทศบาล และอ งค์การบริหาร
ส่วนต ำ�บล (อบต.) ในม าตรา 282 ได้บ ัญญัติไว้ว่า “ภายใต้บังคับมาตรา 1 รัฐจ ะต้องให้ค วามเป็นอ ิสระแ ก่
ท้องถ ิ่นต ามหลักแห่งการปกครองตนเองตามเจตนารมณ์ของป ระชาชนในท้องถิ่น”
นอกจากนั้น ในหมวดแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ ยังกำ�หนดให้รัฐส่งเสริมและสนับสนุนการมี
ส่วนร่วมของประชาชนในการกำ�หนดนโยบาย การตัดสินใจทางการเมือง การตรวจสอบอำ�นาจรัฐทุกระดับ
(มาตรา 76) ตามที่มีบัญญัติไว้ในอีกหลายมาตรา รวมทั้งการเข้าชื่อกันเสนอกฎหมายและเสนอถอดถอน
ผู้ด ำ�รงต ำ�แหน่งทางการเมือง และร ัฐต้องกระจายอ ำ�นาจให้ท ้องถิ่นอย่างม ีขั้นตอนแ ละเป็นระบบ