Page 82 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 82

5-72 การเมืองการปกครองไทย

       8.1 	 ภาย​ใตร้​ ัฐธรรมนญู ฯ พ.ศ. 2549
       “รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2549 (ฉบับช​ ั่วคราว)” กำ�หนด​โครงสร้าง และ​สถาบันก​ ารเมืองก​ าร​ปกครอง​
ไว้​คล้ายๆ กับ​รัฐธรรมนูญ​ฯ พ.ศ. 2534 (ฉบับ​ชั่วคราว) และ​ที่​เป็น​ตัว​แบบ​มา​ก่อน​หน้า​นั้น​หลาย​ฉบับ
กล่าว​คือ กำ�หนด​ให้​มี​สภา​นิติบัญญัติ​แห่ง​ชาติ ทำ�​หน้าที่​ด้าน​นิติบัญญัติ ฝ่าย​บริหาร​คือ​คณะ​รัฐมนตรี
มา​จาก​การ​แต่ง​ตั้ง​ของ​คณะ คปค. ที่​กลาย​มา​เป็น “คณะ​มนตรี​ความ​มั่นคง​แห่ง​ชาติ” หรือ คมช. ตาม​
รัฐธรรมนูญ​ฉบับ​นี้ และ​สถาบัน​ตุลาการ ก็​ยัง​คงไ​ว้​ตาม​โครงสร้างเ​ดิมต​ าม​รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2540
       ส่วนส​ าระส​ ำ�คัญใ​หม่แ​ ละก​ ารจ​ ัดต​ ั้งอ​ งค์กรห​ รือค​ ณะก​ รรมการใ​หม่ต​ ามร​ ัฐธรรมนูญฉ​ บับน​ ี้ ก็ค​ ือ การ​
ก�ำ หนดใ​หม​้ ก​ี ารส​ รรหาส​ มาชกิ ส​ ภาน​ ติ บิ ญั ญตั แ​ิ หง่ ช​ าติ (สนช.) มาจ​ ากก​ ลุม่ แ​ ละอ​ งคก์ รต​ า่ งๆ ทัง้ ส​ ายว​ ชิ าชพี แ​ ละ​
วิชาการ มีจ​ ำ�นวนไ​ม่เ​กิน 250 คน การจ​ ัดต​ ั้ง​สภา​ร่าง​รัฐธรรมนูญ โดยใ​ห้ต​ ัวแทนข​ อง​องค์กร​ต่างๆ รวมท​ ั้ง​กลุ่ม​
เอกชนน​ อก​ภาค​รัฐ หรือ เอ็นจีโอ (NGOs) จำ�นวนไ​ม่เ​กิน 2,000 คน รวมก​ ัน​เป็น “สมัชชาแ​ ห่ง​ชาติ” แล้วเ​ลือก​
กันเองใ​ห้เ​หลือ 200 คน ส่งใ​ห้ป​ ระธาน คมช. คัด​เลือก​เหลือ 100 คน เป็น​สมาชิก​สภาร​ ่างร​ ัฐธรรมนูญ (สสร.)
นอกจาก​นั้น คมช. ยังไ​ด้​จัด​ตั้ง “คณะก​ รรมการ​ตรวจ​สอบก​ ารก​ระ​ทำ�​อัน​ก่อใ​ห้​เกิดค​ วามเ​สียห​ ายแ​ ก่ร​ ัฐ” หรือ
คตส. ขึ้น​มา ทำ�​หน้าที่​ตรวจ​สอบ​ทรัพย์สิน​และ​หนี้​สิน​ของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชิน​วัตร อดีต​นายก​รัฐมนตรี​และ​
ครอบครัว จนน​ ำ�​ไปส​ ู่​กระบวนการฟ​ ้องร​ ้องค​ ดีต​ ่อ​ศาลร​ ัฐธรรมนูญใ​น​เวลาต​ ่อ​มา และศ​ าล​ได้อ​ ่านค​ ำ�​พิพากษา​
ยึด​ทรัพย์สิน​มูลค่า​กว่า 46,000 ล้านบ​ าท เมื่อว​ ันท​ ี่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
       โครงสร้าง และส​ ถาบัน​ทางการ​เมือง​การ​ปกครอง​ภาย​ใต้​รัฐธรรมนูญ​ฉบับ​นี้ จึง​เป็น​โครงสร้าง​ทาง
การเ​มือง​ในเ​ชิง​เผด็จการ เพราะไ​ม่​ได้เ​ปิดท​ างในก​ าร​มีส​ ่วนร​ ่วม​ทางการ​เมือง​ของ​ประชาชนอ​ ย่าง​กว้างข​ วางใ​น​
สถาบัน​ทางการ​เมือง​หลักๆ คือ ฝ่ายน​ ิติบัญญัติ บริหาร รวมท​ ั้ง บทบาท​ของ​พรรคการเมือง และก​ าร​เลือก​ตั้ง​
ก็​ถูก​จำ�กัด หรือ​ปิด​กั้น​ไว้​ด้วย​เช่น​กัน รัฐธรรมนูญ​ได้​วาง​กรอบ​การ​ใช้​อำ�นาจ​ทางการ​เมือง​อย่าง​กว้าง​ขวาง​ให้​
กับ “คณะม​ นตรี​ความ​มั่นคง​แห่งช​ าติ” ที่มา​จากก​ ลุ่มผ​ ู้นำ�​ของ​คณะร​ ัฐประหาร และ​ประธานค​ ณะ​มนตรีค​ วาม​
มั่นคง​แห่งช​ าติ หรือห​ ัวหน้าค​ ณะ​รัฐประหาร
       8.2 	 ภายใ​ตร้​ ัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2550
       “รัฐธรรมนูญ​แห่ง​ราช​อาณาจักร​ไทย พ.ศ. 2550” ได้​ผ่าน​การ​ลง​ประชามติ​ของ​ประชาชน​ผู้​มี​สิทธิ์​
เลือก​ตั้ง​ทั่ว​ประเทศ​ใน​วัน​ที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2550 โดย​เสียง​ข้าง​มาก​ราว 14.7 ล้าน​เสียง ให้การ​รับรอง​
รฐั ธรรมนญู ขณะท​ เี​่ สยี งไ​มร​่ บั รองม​ อ​ี ยรู​่ าว 10.7 ลา้ นเ​สยี ง รฐั ธรรมนญู จ​ งึ ไ​ดร​้ บั ก​ ารป​ ระกาศใ​ชอ​้ ยา่ งเ​ปน็ ท​ างการ​
ใน​วัน​ที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2550 สาระส​ ำ�คัญ​ส่วนใ​หญ่​ยึดถือ​ตามร​ ัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2540 แต่​ได้​จัดห​ มวด​
หมูข่​ องบ​ ทบัญญัตติ​ ่างๆ ออกเ​ป็นกล​ ุ่มส​ าระต​ ่างๆ และเ​พิ่มเ​ติมร​ ายล​ ะเอียดต​ ่างๆ ใหม้​ คี​ วามช​ ัดเจนม​ ากข​ ึ้น จน​
กลายเ​ป็นร​ ัฐธรรมนูญท​ ี่ม​ ีบ​ ทบัญญัตทิ​ ี่ม​ ีร​ ายล​ ะเอียดม​ ากท​ ี่สุดก​ ว่า 17 ฉบับท​ ี่ผ​ ่านม​ า แม้ว่าจ​ ะม​ ีม​ าตราท​ ั้งหมด
309 มาตรา หรือน​ ้อยก​ ว่าร​ ัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2540 ที่ม​ ี​มาตราต​ ่างๆ ถึง 336 มาตรา
       เหตุ​นี้ โครงสร้าง และ​สถาบัน​ทางการ​เมือง​การ​ปกครอง​ตาม​รัฐธรรมนูญ​ฯ พ.ศ. 2550 จึง​มี​ความ​
ซับซ​ ้อนแ​ ละห​ ลากห​ ลายเ​ช่นเ​ดียวก​ บั ร​ ฐั ธรรมนญู ฯ พ.ศ. 2540 กล่าวค​ อื สถาบนั ท​ างการเ​มืองห​ ลักใ​นโ​ครงสรา้ ง​
ส่วนบ​ นค​ ือ นิติบัญญัติ บริหาร และต​ ุลาการ ก็ม​ ีโ​ครงสร้าง ที่มา และล​ ักษณะข​ องก​ ารใ​ช้อ​ ำ�นาจท​ ี่ซ​ ับซ​ ้อนแ​ ละม​ ​ี
การเ​ปลีย่ นแปลงไ​ปจ​ าก พ.ศ. 2540 หลายล​ กั ษณะ ในโ​ครงสรา้ งส​ ว่ นก​ ลาง คอื พรรคการเมอื ง และอ​ งคก์ รอ​ สิ ระ​
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87