Page 84 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 84
5-74 การเมืองการปกครองไทย
การเมืองต ั้งแต่ระดับ อปท. จนถึงร ะดับช าติ และในองค์กรอ ิสระต่างๆ โดยร ัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้ลดจ ำ�นวน
ของป ระชาชนท ีส่ ามารถเข้าช ื่อก ันเพื่อว ัตถุประสงค์ทางการเมืองต ่างๆ ใหน้ ้อยล งก ว่าร ัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2540
เช่น การเข้าชื่อเสนอข อถ อดถอนผู้ด ำ�รงต ำ�แหน่งทางการเมืองระดับชาติ รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2540 กำ�หนด
ให้ประชาชนผ ู้มีส ิทธิ์เลือกต ั้งเข้าช ื่อก ันอ ย่างน้อย 50,000 คน ส่วนร ัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2550 กำ�หนดไว้เพียง
20,000 คนข ึ้นไป และในก ารเสนอแ ก้ไขร ัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2540 ไมไ่ดบ้ ัญญัตถิ ึงก ารเสนอข องภ าคป ระชาชน
แต่รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2550 ได้บ ัญญัติให้ผ ู้มีส ิทธิ์เลือกต ั้ง จำ�นวน 50,000 คนข ึ้นไป เสนอขอแก้ไขได้
เหตุนี้ ภายใต้โครงสร้างทางการเมืองที่ซับซ้อนหลากหลายและการเกิดสถาบันทางการเมือง และ
องค์กรอิสระต ่างๆ ขึ้นใหม่ คล้ายคลึงก ับรัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2540 แต่มีรายละเอียดข องอำ�นาจหน้าที่ การ
ตรวจสอบและถ่วงดุลระหว่างสถาบันและองค์กรต่างๆ ภายในโครงสร้างดังกล่าวนี้ ระบบการเมืองไทย
ยุคน ีจ้ ึงม ที ั้งค วามท ันส มัยแ ละก ้าวหน้าอ ย่างม าก แตข่ ้อส งสัยห รือค ำ�ถามก ย็ ังค งเป็นเช่นเดียวก ับร ัฐธรรมนูญ
ฉบับปฏิรูปฉบับแรก ว่า กลไกการเมืองต่างๆ ภายในโครงสร้าง และสถาบันทางการเมืองการปกครองที่
ทันส มัยดังกล่าวนี้ จะมีพ ลังม ากกว่าร ัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2540 หรือไม่อย่างไรในก ารปรับเปลี่ยนค่าน ิยมเชิง
วัฒนธรรมของผู้ดำ�รงตำ�แหน่งทางการเมืองและในองค์กรอิสระต่างๆ ตลอดจนสังคมไทยโดยรวมให้หันไป
ยอมร ับแ ละเชื่อม ั่นศรัทธาในส ิ่งที่ทันส มัยและก ้าวหน้าเหล่าน ี้ ที่มีแนวคิดห ลักและแกนก ลางข องระบบอ ยู่ท ี่
“หลักนิติธรรม” ไม่ใช่ก ารป กครองโดยค น (ผู้นำ�)” คือความศ ักดิ์สิทธิ์แ ละยุติธรรมเป็นธ รรมตามหลักข อง
กฎหมายไม่ใช่นักการเมืองและข้าราชการหรือผู้บังคับใช้กฎหมายมีความสำ�คัญเหนือกฎหมายดังที่เป็นมา
นานแ ละยังค งเป็นอ ยู่ในปัจจุบัน
หลังจ ากศึกษาเนื้อหาส าระเรื่องที่ 5.2.4 แล้ว โปรดป ฏิบัติกิจกรรม 5.2.4
ในแ นวก ารศ ึกษาหน่วยท ี่ 5 ตอนท ี่ 5.2 เรื่องท ี่ 5.2.4