Page 64 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 64

5-54 การเมืองการปกครองไทย

8. 	ภายใ​ตร​้ ฐั ธรรมนญู ฯ พ.ศ. 2511

       รฐั ธรรมนญู ฉ​ บบั น​ ี้ ไดก​้ �ำ หนดโ​ครงสรา้ ง และส​ ถาบนั ท​ างการเ​มอื งท​ ัง้ ใ​นส​ ว่ นท​ เี​่ หมอื นก​ บั ร​ ฐั ธรรมนญู ฯ​
พ.ศ. 2489 พ.ศ. 2492 และ พ.ศ. 2490 และท​ ี่เ​ป็นค​ วาม​แตก​ต่างแ​ ละ​ไม่​เหมือนฉ​ บับใ​ดๆ ที่เ​คย​ประกาศ​ใช​้
มา​ก่อนห​ น้าน​ ี้ แม้ว่า​จะบ​ ัญญัติใ​ห้ม​ ี​สถาบันท​ างการ​เมืองห​ ลักๆ อยู่​ในโ​ครงสร้างท​ างการ​เมืองท​ ี่ก​ ำ�หนดข​ ึ้น คือ
รัฐสภา คณะ​รัฐมนตรี ตุลาการ พรรคการเมืองแ​ ละ​การ​เลือกต​ ั้ง เพราะ​ได้​นำ�​หลักก​ าร​แบ่งแ​ ยกอ​ ำ�นาจ​บริหาร​
และ​นิติบัญญัติ​ออกจ​ าก​กัน​อย่างเ​ด็ด​ขาด

       สถาบนั พ​ ระม​ หาก​ ษตั รยิ ์ มพ​ี ระร​ าชอ​ �ำ นาจจ​ �ำ กดั ล​ ง มเ​ี พยี งพ​ ระร​ าชอ​ �ำ นาจต​ ามห​ ลกั ก​ าร คอื การแ​ ตง่ ต​ ัง้ ​
สมาชิกว​ ุฒิสภา และแ​ ต่งต​ ั้งน​ ายกร​ ัฐมนตรี เป็นต้น แตไ่​ม่ใช่อ​ ำ�นาจท​ ี่แท้จ​ ริงใ​นท​ างป​ ฏิบัติเ​หมือนก​ ับท​ ี่บ​ ัญญัต​ิ
ไว้ใ​นรัฐ​ธรรมนูญ​ฯ พ.ศ. 2492

       สถาบัน​นิติบัญญัติ ใช้​ระบบ​รัฐสภา ประกอบ​ด้วย 2 สภา คือ วุฒิสภา มีจ​ ำ�นวน 3 ใน 4 ของ ส.ส.
จับส​ ลากอ​ อกท​ ุกๆ 3 ปี จำ�นวนค​ รึ่งห​ นึ่งข​ องท​ ั้งหมด แตก่​ ส็​ ามารถไ​ด้ร​ ับแ​ ต่งต​ ั้งก​ ลับม​ าใ​หมไ่​ด้ ไม่มีก​ ารก​ ำ�หนด​
ห้าม​ข้าราชการป​ ระจำ�​ดำ�รง​ตำ�แหน่ง ส.ว. เพียงก​ ำ�หนดใ​ห้​หมดส​ มาชิกภ​ าพ​ถ้า​ได้ร​ ับแ​ ต่งต​ ั้ง​เป็นร​ ัฐมนตรี ส.ว.
มีอ​ ำ�นาจ​ทั้งท​ างน​ ิติบัญญัติ และก​ ารค​ วบคุม ตรวจ​สอบ​ฝ่าย​บริหารไ​ด้​เท่าเ​ทียม​กับ ส.ส. แต่​ใน​ทางป​ ฏิบัติจ​ ริง
นายกร​ ัฐมนตรี​เป็น​ผู้​เลือกแ​ ละ​เสนอแ​ ต่ง​ตั้ง ส.ว. โดยเ​กือบท​ ั้งหมด​เป็น​ข้าราชการ​ทหาร ตำ�รวจ และพ​ ลเรือน
วุฒิสภา​จึงก​ ลายเ​ป็นส​ ภา “ค้ำ�จุน​อำ�นาจ” ฝ่ายบ​ ริหารเ​ป็นด​ ้านห​ ลัก

       สภาผ​ ูแ้​ ทนร​ าษฎร มาจ​ ากก​ ารเ​ลือกต​ ั้งโ​ดยตรงข​ องป​ ระชาชน มวี​ าระ 4 ปี ต้องไ​มเ่​ป็นข​ ้าราชการป​ ระจำ�
และ​ไม่​สามารถ​ดำ�รง​ตำ�แหน่ง​นายก​รัฐมนตรี และ​รัฐมนตรี​ใน​เวลา​เดียวกัน มี​อำ�นาจ​ใน​ด้าน​นิติบัญญัติ​และ​
การ​ตรวจ​สอบ และ​ควบคุม​การ​บริหาร​ราชการ​แผ่น​ดิน​ของ​ฝ่าย​บริหาร ใน​ความ​เป็น​จริง​นั้น จอมพล​ถนอม
กิตติ​ขจร และ​พวก​พ้อง​ทหาร ตำ�รวจ และ​ข้าราชการ​พลเรือน ได้​จัด​ตั้ง​พรรค​สห​ประชา​ไทย จัด​ส่ง​ผู้​สมัคร​
รับ​เลือกต​ ั้งแ​ ละ​ได้ ส.ส. มากกว่าท​ ุกพ​ รรค ทำ�ให้​มีเ​สียง​สนับสนุน​ใน​สภาผ​ ู้​แทนร​ าษฎรอ​ ีกส​ ่วน​หนึ่ง เพียงแ​ ต่​
ควบคุม​ไม่ไ​ด้​เต็มท​ ี่ เพราะ ส.ส. มัก​ต่อร​ องแ​ ละ​ขอ​ผล​ประโยชน์​แลก​เปลี่ยนก​ าร​สนับสนุน ต่าง​จาก ส.ว. ที่​เป็น​
ผู้​ใต้บ​ ังคับบ​ ัญชาข​ อง​นายกร​ ัฐมนตรีแ​ ละ​รัฐมนตรี

       สถาบันบ​ ริหาร คือ คณะ​รัฐมนตรี ประกอบด​ ้วย ​นายก​รัฐมนตรี 1 คน พระ​มหาก​ ษัตริย์ท​ รง​แต่ง​ตั้ง
และร​ ัฐมนตรี 15–30 คน ทำ�​หน้าทีบ่​ ริหารร​ าชการแ​ ผ่นดิน โดยจ​ ะด​ ำ�รงต​ ำ�แหน่ง ส.ว. และ ส.ส. ในเ​วลาเ​ดียวกัน​
ไม่​ได้ มีส​ ิทธิ​เข้า​ร่วมป​ ระชุมแ​ ละ​แถลง​ข้อ​เท็จ​จริง แสดง​ความ​เห็น​ใน​ที่​ประชุม​วุฒิสภา และ​สภาผ​ ู้แ​ ทนร​ าษฎร
แต่​ไม่มี​สิทธิ​ออก​เสียง​ลง​คะแนน ก่อน​เข้า​ทำ�​หน้าที่​ต้อง​แถลง​นโยบาย​ต่อ​รัฐสภา​โดย​ไม่มี​การ​ลง​มติ​ความ​ไว้​
วางใจ

       สถาบัน​ตุลาการ ยัง​คง​กำ�หนด​ให้​เป็น​ระบบ​ศาล​เดียว คือ ศาล​ยุติธรรม มี​อิสระ​ใน​การ​พิจารณา​
พิพากษา​อรรถค​ ดี​ต่างๆ

       พรรคการเมือง​และ​การ​เลือก​ตั้ง ได้​มี​บทบัญญัติ​ให้​ประชาชน​สามารถ​รวม​กลุ่ม​และ​จัด​ตั้ง​
พรรคการเมือง​ได้ โดย​อยู่​ภาย​ใต้​กฎหมาย​พรรคการเมือง และ​ใน​เวลา​ต่อ​มา ก็ได้​มี​การ​ออก​ประกาศ​ใช้​
พระ​ราช​บัญญัติ​พรรคการเมือง พ.ศ. 2511 ซึ่ง​นับ​เป็น​ฉบับ​ที่​สอง​ของ​ประเทศไทย แต่​ใน​ทาง​ปฏิบัติ
พรรคการเมือง​ที่ส​ ามารถจ​ ัดต​ ั้งข​ ึ้น จัด​ส่งผ​ ู้ส​ มัคร​ได้​เป็นจ​ ำ�นวน​มาก และไ​ด้ร​ ับเ​ลือกต​ ั้ง มี ส.ส. หลายส​ ิบ​คน
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69