Page 92 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 92
5-82 การเมืองการปกครองไทย
ตุลาการ และรัฐธรรมนูญ ก็ยิ่งจะด้อยคุณค่าและขาดความชอบธรรมลงตามลำ�ดับ เพราะอำ�นาจ อิทธิพล
และผ ลป ระโยชน์จะกระจายแ ละแลกเปลี่ยนกันอยู่ในก ลุ่ม “ความช ั่วร ้ายทั้งส าม” หรือ “ไตรอ ัปลักษณ์” คือ
นักการเมือง ข้าราชการร ะดับสูง และน ักธุรกิจ/กลุ่มธุรกิจ ส่วนโครงสร้างร ะดับล ่าง คือ กลุ่มข องประชาชน ก็
จะเกิดก ารแ บ่งแ ยกก ันเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ กลุ่มท ี่ยอมข ายค ะแนนเสียง หรือเข้าร ่วมอ ยู่ในโครงส ร้างค วาม
สัมพันธ์เชิงอ ุปถัมภ์ของน ักการเมือง ข้าราชการแ ละนักธ ุรกิจ กับก ลุ่มที่ต ่อต้านโครงสร้าง และส ถาบันเหล่าน ี้
เมื่อก ลุม่ ห ลังย งั ด อ้ ยพ ลังแ ละห มดท างเลือก ทางออกก พ็ อเป็นไปไดค้ อื ก ารพ ึ่งพา “ปนื ” ทีย่ งั ย ึดถอื อ ดุ มการณ์
“ชาติ ศาสนา และพระม หากษัตริย์” ให้เข้าม าท ำ�รัฐประหารล้มล ้าง “ระบอบธ นาธิปไตย”
บริบทการเมืองไทยดังกล่าวนี้ คือ ปัญหาสำ�คัญยิ่งอย่างหนึ่งที่มีผลทำ�ให้โครงสร้าง และสถาบัน
ทางการเมืองในแนวทางประชาธิปไตยทั้งหลายอ่อนแอและขาดการพัฒนา นับตั้งแต่ยุค “เชื่อผู้นำ�ชาติพ้น
ภัย” และ “ข้าพเจ้าขอรับผิดชอบแต่เพียงผู้เดียว” เมื่อเกิดการบิดเบือนอำ�นาจไปสู่การคอรัปชันทางการ
เมืองไดพ้ ัฒนาข ึ้นแ ละเข้มแ ข็งม ากกว่าโครงสร้าง และสถาบันท างการเมืองป ระชาธิปไตยทุกส ถาบัน จนถึงย ุค
“กึง่ ป ระชาธปิ ไตย” หรอื ก ารพ ยายามร ว่ มม อื ก นั ผ กู ขาดอ �ำ นาจแ ละบ ดิ เบอื นไปส กู่ ารค อรปั ช นั ท างการเมอื งข อง
ผู้นำ�ทหาร ข้าราชการก ับก ลุ่มท ุนแ ละน ักธ ุรกิจ/กลุ่มธ ุรกิจ นักการเมืองในย ุคน ี้จ ึงต ้องอ ยู่ในฝ ่ายจ ัดต ั้งร ัฐบาล
เพราะถ้าเป็น “ฝ่ายค้านก็ต้องอดอยากปากแห้ง” การใช้เงินซื้อเสียง ซื้ออำ�นาจ ซื้อตำ�แหน่ง และซ ื้อความ
ถกู ต อ้ งต ามก ฎหมายก ลายเปน็ พ ฤตกิ รรมร ว่ มข องก ลุม่ ไตรอ ปั ลกั ษณ์ ปรากฏการณ์ “โรคร อ้ ยเอด็ ” พ.ศ. 2524
การเปิดเผยทรัพย์สินที่มีจำ�นวนรวมกันมากกว่า 3,000 ล้านบาท ของคณะรัฐมนตรีในยุคบุฟเฟ่ต์แคบิเน็ต
(Buffet Cabinet) โดยก ารนำ�ของ พล.อ.ชาติชาย ชุณหะ ว ัณ หรือกรณีผ ู้นำ� รสช. บางค นกับ “ภรรยาน้อย”
มีท รัพย์สินจำ�นวนม ากกว่า 4,000 ล้านบ าท มาจนถึงการซ ื้อข ายตำ�แหน่งในกระทรวงม หาดไทย กรมต ำ�รวจ
(ต่อม าภ ายห ลังเปลี่ยนเป็นสำ�นักงานต ำ�รวจแห่งช าติ) “โรคโคตรโกงป ากนํ้า” พ.ศ. 2541 การซื้อขายต ำ�แหน่ง
ในอ งค์กรป กครองส ่วนท ้องถิ่น (อปท.) ลำ�ดับข ั้น (2) ละ 100,000 บาท และการเรียกรับเงินในโครงการต ่างๆ
ของ อปท. ตั้งแต่ร ้อยละ 10–50 จนม ีการเรียกองค์การบริหารส่วนต ำ�บล หรือ อบต. ว่าเป็น “อมทุกบ าททุก
สตางค์” เหล่าน ี้ล ้วนแสดงถึงพัฒนาการใช้อำ�นาจ บิดเบือนไปส ู่การท างการเมืองท ั้งส ิ้น
เมื่อเกิดการรัฐประหารก็เกิดการ “ล้มลุก” ของโครงสร้าง และสถาบันทางการเมือง รัฐธรรมนูญ
รัฐสภา พรรคการเมือง การเลือกตั้งและรัฐบาล หรือผันแปรไปตามเงื่อนไขการรัฐประหารอย่างไร้ทิศทาง
แต่โครงสร้าง และพฤติกรรมคอรัปชันทางการเมืองกลับยิ่งพัฒนาได้อย่างก้าวหน้า นักการเมืองมั่งคั่งรํ่า
รวย และสามารถผูกขาดคะแนนเสียงในเขตเลือกตั้งและในจังหวัดของตนเองได้เกือบเบ็ดเสร็จและธุรกิจ
ของคนเหล่านี้ก็ขยายกว้างออกไป สามารถเข้ารับการสัมปทานจากหน่วยงานภาครัฐ และรัฐวิสาหกิจต่างๆ
ได้ตลอดเวลา เพียงระดับของการ “ปฏิรูปการเมือง” จึงไม่อาจ “ระคายผิว” ของบริบทการเมืองโดยกลุ่ม
“ไตรอ ัปลักษณ์” ได้
2.2 ด้านเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกิจ (economic system) ก็ค ือ โครงสร้าง และสถาบันต่างๆ ที่
ทำ�หน้าที่ในก ารผลิตและจำ�หน่ายจ ่ายแ จกส ินค้าแ ละบ ริการ โครงสร้าง และส ถาบันท างเศรษฐก ิจห ลักๆ คือ
ส่วนของภาครัฐและส่วนของภาคเอกชน ถ้าเน้นระบบเศรษฐกิจสังคมนิยม ภาครัฐจะมีบทบาทสำ�คัญมาก
ที่สุด ทั้งก ารล งทุน การผ ลิตแ ละก ารจำ�หน่ายจ ่ายแจกสินค้าและบริการเพื่อการบริการส าธารณะ แต่ถ ้าเน้น