Page 94 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 94
5-84 การเมืองการปกครองไทย
ในข ณะเดียวกัน เศรษฐกิจภ าคพ าณิชย กรร ม ก็ได้เกิดข ึ้นแ ละข ยายต ัวอ อกไปจ ากก รุงเทพมหานคร
ไปสู่จังหวัดใหญ่ๆ และสู่เขตเมืองในทุกจังหวัด โดยม ีนักลงทุนแ ละก ลุ่มทุนจ ากทั่วโลกเข้ามาร่วมล งทุน เมื่อ
รฐั บาลไดก้ �ำ หนดน โยบายแ ละม าตรการต า่ งๆ มารอ งร บั และเอือ้ ต อ่ ก ารล งทนุ ข องน กั ล งทนุ ต า่ งช าติ รวมท ัง้ ก าร
เปิดต ลาดก ารล งทุนข ึ้นในป ระเทศ ในย ุคท ี่โลกเริ่มเปลี่ยนเป็นส ังคม ไอที (IT Society) หรือส ังคมส ารสนเทศ
มากขึ้น เมื่อระบบก ารส ื่อสารได้พัฒนาไปอ ย่างก้าวหน้าอย่างมาก โดยม ีส ื่อ (media) มากมายในก ารสื่อสาร
ติดต่อกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คือ ระบบคอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต และระบบดาวเทียม ระบบทุนนิยมได้
ขยายตัวออกไปในทุกภาคส่วนเศรษฐกิจ พร้อมๆ ไปกับความเข้มแข็งของกลุ่มทุนหลายกลุ่ม จากความ
มั่งคั่งร ํ่ารวยในก ารล งทุนป ระกอบก ิจการต ่างๆ ทั้งในแ ละน อกป ระเทศ นับต ั้งแต่ธ ุรกิจอ สังหาริมทรัพย์ ธุรกิจ
รับเหมาก่อสร้างโครงสร้างขนาดใหญ่ ธุรกิจสถาบันการเงิน ธุรกิจการสื่อสารประเภทต่างๆ ไปจนถึงธุรกิจ
ผลิตชิ้นส่วนรถยนต์และรถจักรยานยนต์ต่างๆ และธุรกิจการเกษตรขนาดใหญ่ เป็นต้น กลุ่มทุนใหญ่จาก
พื้นฐานของบรรพบุรุษชาวจีนอพยพจึงกลายเป็นกลุ่มที่ทรงพลังอำ�นาจทางเศรษฐกิจและการเมืองในสังคม
ไทย ที่สำ�คัญ ก็ค ือ กลุ่มตระกูลช ินว ัตร ตระกูลเจียรวานนท์ ตระกูลจ ิร าธิวัฒน์ ตระกูลเกียร ตินาคิน ตระกูล
จึงร ุ่งเรืองก ิจ ตระกูลส ิริว ัฒนภ ักดี และต ระก ูลอ ื่นๆ อีก 5–10 ตระกูล นอกจากน ั้น ยังม ีก ลุ่มท ุนร ะดับร องท ี่ได้
สรา้ งฐ านก ารเมอื งอ ยใู่ นจ งั หวดั แ ละภ มู ภิ าคต า่ งๆ ของป ระเทศอ กี น บั ร อ้ ยต ระกลู อาทเิ ชน่ ตระกลู เทอื กส บุ รรณ
ที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี ตระกูลอ ังกินันท์ ที่จังหวัดเพชรบุรี ตระกูลอ ัศวเหม ที่จังหวัดส มุทรปราการ ตระกูล
ศลิ ปอ าชาทจี่ งั หวดั ส พุ รรณบรุ ีตระกลู เทยี นท องทจี่ งั หวดั ส ระแกว้ ตระกลู ห าญส วสั ดิ์ทจี่ งั หวดั ป ทมุ ธานีตระกลู
อดเิ รกส าร ทีจ่ ังหวัดส ระบุรี ตระก ูลล ปิ ตพ ลั ลภ ทีจ่ งั หวดั น ครราชสมี า ตระกูลช ดิ ช อบทจี่ ังหวัดบ ุรรี มั ย์ ตระกูล
ชยั ว ริ ตั น ะ ทจี่ งั หวดั ช ยั ภมู ิ ตระกลู จ ารสุ มบตั ิ ทจี่ งั หวดั ห นองคาย ตระกลู จ นั ทรส รุ นิ ทร์ ทจี่ งั หวดั ล �ำ ปาง ตระกลู
ชามพูนท ที่จ ังหวัดพ ิษณุโลก และต ระกูล ณ เชียงใหม่ และอ ีก 3–4 ตระกูลในจังหวัดเชียงใหม่ เป็นต้น
ตระกูลธ ุรกิจต ่างๆ ทั้งก ลุ่มใหญ่ กลาง และเล็ก ในด ้านห นึ่งก เ็ป็นกล ุ่มช นชั้นก ลาง (middle classes)
และมีบทบาทเป็นพลังทางสังคมที่สำ�คัญส่วนหนึ่งในการผลักดันการเปลี่ยนแปลงท างการเมือง โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งในเหตุการณ์ต่อต ้าน รสช. 17–20 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 และผ ลักด ันการป ฏิรูปก ารเมืองต่อม า แต่
เนื่องจากการเน้นบทบาทในการรักษาและแสวงหาผลประโยชน์ทางธุรกิจผ่านกระบวนการ โครงสร้าง และ
สถาบันทางการเมืองเป็นหลักมากกว่าการสนับสนุนอุดมการณ์ประชาธิปไตย กลุ่มทุนทุกระดับจึงเชื่อมโยง
เป็นพ ันธมิตรก ับก ลุ่มผ ู้นำ�ทหารแ ละข ้าราชการร ะดับส ูงห รืออ ำ�มาต ย าธิปไตย และร ่วมก ันส ร้างโครงสร้าง และ
พฤติกรรมการคอรัปชันทางการเมืองมาหลายย ุคห ลายสมัย ทำ�ให้ก ารเปลี่ยนแปลงระบบเศรษฐกิจท ี่มีค วาม
หลากหลายและเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลกมากขึ้น ในยุคโลกาภิวัตน์จึงยังไม่เป็นพลังสำ�คัญในการค้ำ�จุน
โครงสร้าง และสถาบันทางการเมืองป ระชาธิปไตยต่างๆ ได้
ปรากฏการณ์ “ระบอบท กั ษณิ ” ในช ว่ ง พ.ศ. 2540–2554 กย็ งั เปน็ การแ สดงอ าการข อง “ไตรอ ปั ลกั ษณ์
ทางการเมืองไทย” เป็นด้านห ลัก ไม่ใช่อาการข องกลุ่มพลังทางสังคมเพื่อเรียกร ้องป ระชาธิปไตยแต่อ ย่างใด
กลุ่มและขบวนการสังคมที่ต่อต้าน “ระบอบทักษิณ” ก็เป็นเพียงกลุ่มผลประโยชน์และกลุ่มชนชั้นกลางอีก
สว่ นห นึ่งท ไี่มพ่ อใจแ นวคิด และพ ฤติกรรมท างการเมืองข องร ะบอบท ักษิณ รวมท ั้งก ารใชอ้ ำ�นาจบ ิดเบอื นส ร้าง
ความม ั่งคั่งรํ่ารวยให้ตนเองและพวกพ้อง กลุ่มเหล่าน ี้จึงส ร้างพันธมิตรก ับผ ู้นำ�ทหารและข้าราชการบางก ลุ่ม