Page 99 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 99
โครงสร้าง และสถาบันการเมืองการปกครองของไทย 5-89
ได้อย่างจริงจังเท่านั้นจึงจะสามารถทำ�ลายโครงสร้าง และพฤติกรรมการคอรัปชันทางการเมืองของกลุ่ม
“ไตรอ ัปลักษณท์ างการเมือง” ได้ เพียงแ ตว่ ่า ชัยชนะท ีจ่ ะม ขี ึ้นย ังต ้องใชเ้วลาท ีไ่มส่ ามารถจ ะก ำ�หนดใหช้ ัดเจน
ได้ในขณะน ี้
2. ผลกระทบในด ้านล บ แยกออกไ ดด้ ังน้ี คือ
2.1 เกิดก ารท ำ�ลายค ุณค่าร ะบอบป ระชาธิปไตย และหลักน ิติธรรมห ลายค รั้งจ นเกิด “มิติป ระชาธิป-
ไตย” ขึ้นห ลากห ลายแ ละแ ตกต ่างก ันในค นแ ต่ละก ลุ่ม โดยบ างม ิติป ระชาธิปไตยอ าจแ ตกต ่างก ันค นละข ั้วจ น
ไม่อ าจจะอ ยู่ร่วมก ันได้
เฉพาะช ่วงเวลาราว 8 ทศวรรษ ตั้งแต่เปลี่ยนแปลงการเมืองการปกครอง พ.ศ. 2475 เป็นต้นมา ก็
พบความจริงว่าโครงสร้าง และส ถาบันท างการเมืองแ บบรวมศูนย์อ ำ�นาจ และแ บบก ึ่งประชาธิปไตย สามารถ
ดำ�รงอ ยู่ได้ย าวนานท ี่สุด คือ รวมเวลาท ั้งส ิ้นเกือบ 60 ปี เพราะมีกลไกข องร ะบบทหารแ ละราชการค้ำ�จุนไว้
ผสมผ สานกับก ารมีผ ู้นำ�ทหารท ี่ม ีบ ารมีทางการเมืองส ูง คือ จอมพล ป. พิบูลสงคราม จอมพลส ฤษดิ์ ธนะรัชต ์
และพ ล.อ.เปรม ติณส ลู าน นท์ ดำ�รงต �ำ แหนง่ ป ระมขุ ข องฝ า่ ยบ ริหาร หรือ “ศูนยก์ ลาง” ของอ ำ�นาจในโครงสรา้ ง
และส ถาบนั ท างการเมอื งต า่ งๆ สว่ นโครงสรา้ ง และส ถาบนั ท างการเมอื งในแ นวทางป ระชาธปิ ไตย มเีวลาในก าร
ทำ�งานอ ยู่ไม่ถ ึง 20 ปี เพราะข าดความส ามารถในการท ำ�งานห รือก ารสร้างพลังให้กับ “หลักน ิติธรรม” ทำ�ให้
ไม่มีพลังสนับสนุนจากภาคสังคม คุณค่าประชาธิปไตยจากพื้นฐานของอำ�นาจอธิปไตยของประชาชนและ
หลักนิติธรรมจึงอ ่อนด้อยกว่าค ุณค่าประชาธิปไตยโดยช นชั้นน ำ�และกลไกร ัฐ
2.2 โครงสร้าง และสถาบันทางการเมืองการปกครองที่มีความหลากหลายและซับซ้อนมากขึ้น
ภายใต้ร ัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 และ 2550 ได้ก ลายเป็น “พื้นที่ท องคำ�” แหล่ง
ใหม่ของกลุ่ม “ไตรอัปลักษณ์ทางการเมือง” ที่พยายามใช้ระบบเส้นสาย อุปถัมภ์ พวกพ้องและเครือญาติ
ผลกั ด นั ใหพ้ วกพ อ้ งห รอื ค นในฝ า่ ยข องต วั เองไดเ้ ขา้ ไปม ตี �ำ แหนง่ ต า่ งๆ ในพ รรคการเมอื งส �ำ คญั ท มี่ เี งนิ ท นุ ม าก
และม ีอ ิทธิพลต ่อผู้มีส ิทธิเลือกตั้งในจังหวัดต่างๆ สูง คือ ประชาธิปัตย์ ไทยรักไทย พลังป ระชาชน เพื่อไทย
ชาติไทยพัฒนา เพื่อแผ่นดิน มัชฌิมาธ ิปไตย รวมใจไทยชาติพ ัฒนา และภ ูมิใจไทย เป็นต้น ก็ม ีบุคคลและ
กลุ่มก ารเมืองท ี่ไม่ย อมรับก ลไกการต รวจส อบและก ารด ำ�เนินการท างกฎหมายอ ยู่เป็นจำ�นวนมาก แต่บ ุคคล
และก ลุ่มการเมืองต่างๆ เหล่านี้ สามารถผ ่านการเลือกตั้งเข้าไปมีตำ�แหน่งท างการเมืองในร ัฐสภาแ ละรัฐบาล
ได้อ ยู่เสมอ กระบวนการสร้างค วามเป็นพ วกพ ้องเดียวกันและช ่วยเหลือพ ึ่งพาก ันข องค นเหล่าน ีก้ ับข ้าราชการ
และเจ้าหน้าที่ของรัฐจึงเป็นไปอย่างต่อเนื่อง จนสามารถสร้างอิทธิพลเข้าสู่องค์กรอิสระและองค์กรของรัฐที่
จดั ต ัง้ ข ึน้ ใหมผ่ า่ นก ารผ ลกั ด นั ท าง รฐั สภา เสน้ ส าย และร ะบบอ ปุ ถมั ภ์ พวกพ อ้ ง เครอื ญ าติ และเจา้ น าย–ลกู น อ้ ง
โครงสร้าง และสถาบันทางการเมืองในแนวทางการปฏิรูปการเมืองจึงมีลักษณะถูกทับซ้อนไว้
โดยโครสร้างและพฤติกรรมการคอรัปชันทางการเมือง พลังในการบังคับใช้กฎหมายและการตรวจสอบ
กระบวนการท างการเมืองจ ึงม ีพ ลังน ้อย และไม่ส ามารถป รับเปลี่ยนค วามค ิดแ ละพ ฤติกรรมท างการเมืองข อง
กลุ่ม “ไตรอ ัปลักษณ์ท างการเมือง” ได้