Page 95 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 95
โครงสร้าง และสถาบันการเมืองการปกครองของไทย 5-85
ที่ย ังยึดอ ยู่กับอ ุดมการณ์ช าติ ศาสนา และพระม หาก ษัตริย์ เพื่อล ้มล ้างร ะบอบทักษิณเป็นเป้าห มายหลัก แต่
ไม่ใช่เพื่อการสร้างสรรค์ป ระชาธิปไตยเช่นเดียวกัน
ความไมเ่ชื่อม ั่น ศรัทธาต ่อโครงสร้าง และส ถาบันท างการเมืองป ระชาธิปไตย โดยเฉพาะอ ย่างย ิ่ง การ
ไม่มลี ัทธริ ัฐธรรมนูญน ิยม (Constitutionalism) ของก ลุ่มท ุนในส ังคมไทย จึงน ับเป็นส าเหตสุ ำ�คัญอ ย่างห นึ่ง
ต่อการเกิดป ัญหาเกี่ยวกับโครงสร้าง และส ถาบันท างการเมืองก ารป กครองของไทย
2.3 ดา้ นส งั คมแ ละว ฒั นธรรม ผูค้ นในส งั คมไทยย ดึ โยงค วามส มั พนั ธร์ ะหวา่ งก นั จ ากพ ืน้ ฐ านค า่ น ยิ ม
ความคิด ความเชื่อและว ัฒนธรรมของความสัมพันธ์ในแบบเครือญ าติ (cronyism) หรือค วามเป็นพ วกพ ้อง
ใกล้ชิดก ัน ความสัมพันธ์เชิงอุปถัมภ์ (clientism) ที่ม ีผ ลประโยชน์แ ลกเปลี่ยนและก ารช ่วยเหลือเกื้อกูลกัน
เป็นต ัวผ สานค วามส ัมพันธแ์ บบเจ้าน าย–ลูกน ้อง หรือร ะหว่างผ ู้บ ังคับบ ัญชา หรือผ ู้มสี ถานภาพส ูงก ว่าก ับผ ู้ใต้
บังคับบ ัญชาห รือผ ู้ม ีส ถานภาพต ํ่าก ว่า และก ารเคารพผ ู้ใหญ่ห รือผ ู้อ าวุโส (seniority) หรือบุคคลท ี่ม ีล ักษณะ
เป็นผ ู้ม ีบารมีห รืออ ิทธิพล (charismatic leader) จากค วามสามารถและค ุณสมบัติเฉพาะต่างๆ ของบุคคล
นั้น ความส ัมพันธข์ องบ ุคคลในล ักษณะต ่างๆ ดังก ล่าวน ี้ ค่อนข ้างเข้มข ้นแ ละป รากฏอ ยูก่ ับค นในส ังคมเกษตร
และเขตช นบทมาช้าน าน แต่ในเขตเมืองแ ละในอ งค์กรท ี่เป็นทางการ คือ ระบบร าชการ และสถาบันสำ�คัญใน
สังคม เช่น สถาบันศาสนา สถาบันการศ ึกษา สถาบันส ื่อมวลชนต ่างๆ เป็นต้น ก็ม ีการย ึดถือค วามส ัมพันธ์ใน
ลักษณะต ่างๆ ดังก ล่าวน ี้อ ย่างเหนียวแ น่น โดยเฉพาะอ ย่างย ิ่งในก ลุ่มค นจ ำ�นวนน ้อย ที่ม ีค วามผ ูกพันใกล้ช ิด
กันในล ักษณะใดล ักษณะห นึ่ง เพราะค วามส ัมพันธ์ในล ักษณะต ่างๆ ดังก ล่าวน ี้ นอกจากจ ะม ีค วามใกล้ช ิดก ัน
แล้วย ังเกิดความไว้ว างใจต ่อก ันแ ละกันได้ม าก การช ่วยเหลือเกื้อกูลก ันในลักษณะต ่างๆ จึงเกิดข ึ้นเป็นปกติ
ธรรมดา และนอกจากนั้น ยังท ำ�ให้สามารถเข้าแข่งขันแ ละแบ่งป ันผลประโยชน์กับก ลุ่มอ ื่นๆ หรือ “คนพ วก
อื่น” ได้ม ากขึ้นด ้วย
พฤติกรรม “การเล่นพ วก” “เส้นส าย” “ฝากเด็ก” “ไม่ฆ ่าน ้อง ไมฟ่ ้องน าย ไมข่ ายเพื่อน” “การเข้าหา
ผู้ใหญ่” “การอ ุปถัมภ์ค ้ำ�ชู” “การม ีบ ุญค ุณต ่อก ัน” “การไหว้เงิน” “การช ่วยเหลือพ ึ่งพาก ัน” และ “มึงร ู้ไหมก ู
ลูกใคร” หรือ “การอ วดเบ่ง” ของล ูกค นใหญค่ นโตในส ังคมจ ึงป รากฏอ ยูท่ ั่วไปก ับค นในส ังคมไทย ยิ่งในก ลุ่ม
คนที่เป็นข้าราชการร ะดับส ูง กลุ่มนักธ ุรกิจ และน ักการเมืองที่ม ีอ ิทธิพลอ ยู่ในจ ังหวัดต ่างๆ ยิ่งม ีพ ฤติกรรม
ดังกล่าวนี้ในเกือบทุกๆ ด้าน ตั้งแต่ในครอบครัวไปจ นถึงในก ลุ่ม องค์กรท ี่ส ังกัด ไปจนถึงในพรรคการเมือง
รัฐสภา รัฐบาล และท ุกหน่วยง านในร ะบบราชการ
คนย ากจนแ ละค นร ะดับล ่างในช นบทห รือในเขตเมืองม ักจ ะเป็นกล ุ่มค นท ี่ม ีส ายส ัมพันธ์ในล ักษณะ
ดังกล่าวนี้กับกลุ่มนักการเมือง ข้าราชการระดับสูง และกลุ่มนักธุรกิจได้น้อย จึงกลายเป็นกลุ่มคนที่ด้อย
โอกาสและเสียเปรียบมากในสังคม การพึ่งพาหน่วยงานราชการต่างๆ ก็มีข้อจำ�กัดมาก เพราะขาดเส้นสาย
และการรู้จักกันเป็นการส่วนตัว เมื่อมีการเลือกตั้ง ก็ต้องพึ่งพานักการเมืองผ่านทางระบบหัวคะแนน ด้วย
การใช้ “คะแนนเสียง” แลกเปลี่ยนเป็นเงิน คำ�มั่นสัญญาและอ ื่นๆ
พื้นฐ านข องค ่าน ิยม ความค ิด ความเชื่อ และว ัฒนธรรมข องค นไทยด ังก ล่าวน ีท้ ำ�ใหค้ นไทยม คี ่าน ิยม
“เคารพและศรัทธาตัวบุคคล” มากกว่าด้านอื่น แม้แต่กฎเกณฑ์ทางศีลธรรม และกฎหมาย ในกลุ่มคนทุก
ร ูปแ บบในส ังคมไทย จึงเกิด “ผู้นำ�” หรือ “แกนน ำ�” ที่ได้ร ับการยกย่องห รือย อมรับจ ากคนในก ลุ่มมากท ี่สุด