Page 96 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 96
5-86 การเมืองการปกครองไทย
โดยม ักจ ะเป็นค นที่ม ีลักษณะพิเศษ คือ ความเป็นค นใจใหญ่ ใจถึง ใจน ักเลง หรือส ามารถให้ความช ่วยเหลือ
คนอ ื่นๆ ได้เสมอ หรือเป็น “ที่พ ึ่ง” ของคนอื่นๆ ได้เกือบท ุกด ้าน
ในยุคการเมืองอำ�มาตยาธิปไตยระหว่าง พ.ศ. 2475–2516 ผู้นำ�ทหาร ข้าราชการ ครู ทนายความ
และอดีตข้าราชการมักได้รับการยอมรับและได้คะแนนเสียงเลือกตั้งจากประชาชนมากที่สุด แต่ในยุคกึ่ง
ประชาธิปไตยแ ละเข้าส ู่ย ุคร ะบอบธนาธิปไตยเป็นต้นมา สัดส่วนของ ส.ส. ที่มาจากน ักธ ุรกิจได้เพิ่มมากขึ้นๆ
ตามล ำ�ดับ จน ส.ส. ในยุค หลังๆ เกือบทั้งหมด เป็นนักธุรกิจห รือมาจ ากตระกูล หรือครอบครัวประกอบธ ุรกิจ
ในด ้านใดด ้านห นึ่ง ในร ะดับ อปท. ต่างๆ ทั่วป ระเทศก ็เช่นเดียวกัน นักธ ุรกิจแ ละก ลุ่มท ุนก ็ส ามารถห าค ะแนน
เสียงได้ม ากจ นเข้าไปม ีตำ�แหน่งใน อปท. เกือบทุกป ระเภทท ุกร ะดับ
ในย ุคโลกาภ ิว ัตน ์ ประชากรในส ังคมได้ข ยายป ริมาณเพิ่มม ากข ึ้นต ามล ำ�ดับ จนม ีจ ำ�นวนท ั่วป ระเทศ
กว่า 65 ล้านค น ใน พ.ศ. 2553 แต่โครงสร้างค วามส ัมพันธ์ระหว่างคนในส ังคมย ังเข้มแ ข็งอยู่ในก ลุ่มเล็กๆ
ที่มีค วามส ัมพันธ์ใกล้ชิดกันในแบบเครือญาติ พวกพ้อง อุปถัมภ์ และเจ้านาย-ลูกน้อง ความห ลากห ลายใน
ความสัมพันธ์ที่เกิดมาจากปัจจัยอื่นๆ รวมทั้งความเชื่อมั่นศรัทธาในหลักการทางสังคมอย่างเดียวกัน เช่น
เชื่อม ั่นในความเสมอภาคข องบุคคล ศักดิ์ศรีแ ห่งความเป็นมนุษย์ และอุดมการณ์ประชาธิปไตยที่ย ึดค ุณค่า
ของหลักนิติธรรม เป็นต้น ยังไม่ปรากฏขึ้นชัดเจนในสังคมไทย พลังทางสังคมที่จะช่วยเกื้อหนุนโครงสร้าง
และส ถาบันท างการเมืองการป กครองในแ บบป ระชาธิปไตยจึงอ ่อนด ้อยอ ยู่ม าก คนไทยส ่วนใหญ่ย ังไม่ค ิดถึง
การร วมก ลุ่มกันโดยส มัครใจเพื่อส ร้างพ ลังต ่อร องท างการเมือง ไม่ค ิดถึงก ารร วมก ลุ่มจ ัดต ั้งพรรคการเมือง
เพื่อร่วมผ ลักดันเจตนารมณ์ทางการเมืองข องคนที่มีค วามคิดค วามเชื่อท างการเมืองค ล้ายๆ กัน แต่ในท างท ี่
ปรากฏขึ้นเป็นป กติก็คือ การแสดงออกถ ึงการนิยมช มช อบและสนับสนุนผู้นำ�ทางการเมืองที่มีบารมีส ูง หรือ
บุคคลที่มีชื่อเสียงเป็นที่นิยมยกย่องในสังคมเป็นด้านหลัก ดังกรณีการเกิดกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อ
ประชาธิปไตยหรือกลุ่มเสื้อเหลือง ภายใต้การนำ�ของนายสนธิ ลิ้มทองกุล และพล.ต.จำ�ลอง ศรีเมือง และ
กลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติหรือกลุ่มคนเสื้อแดง ที่เคารพรักและศรัทธาในภาวะ
ผู้นำ�ของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เป็นต้น
พื้นฐ านค ่าน ิยมเชิงว ัฒนธรรมข องค นในส ังคมไทยด ังก ล่าวน ี้ นอกจากจ ะไมเ่กื้อห นุนต ่อก ารเกิดแ ละ
พัฒนาโครงสร้าง และส ถาบันท างการเมืองในแ นวทางประชาธิปไตยจนเกิดปรากฏการณ์ “ล้มลุก” มาต ลอด
เกือบ 8 ทศวรรษ แล้ว ยังม ีลักษณะเป็นค นละส ่วน หรือม ีค วามแ ปลกแ ยกต ่อก ัน เมื่อใดเกิดการร ัฐประหาร
และเกิดก ารล ้มล ้างร ัฐธรรมนูญ รัฐสภา และร ัฐบาล ที่มาจ ากการเลือกตั้งข องประชาชน คนเกือบท ั้งหมดใน
สังคมก็ไม่มีปฏิกิริยาใดๆ หรือมีลักษณะเป็น “พลังเงียบ” ต่อไป ขณะที่คนบางส่วนแสดงอาการสนับสนุน
การล ้มส ถาบันการเมืองตามร ัฐธรรมนูญหรือส นับสนุนผ ูท้ ำ�รัฐประหารทุกค รั้ง ดังป รากฏการณ์การนำ�กุหลาบ
แดงไปมอบให้ทหารและขอถ่ายร ูปร่วมกับท หารที่ท ำ�รัฐประหารในวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ฝ่ายต่อต้าน
ทีเ่กิดข ึ้นภ ายห ลัง กลุ่มส ำ�คัญก ค็ ือ กลุ่มค นในฝ ่าย พ.ต.ท.ทักษิณ ชินว ัตร ที่ส ูญเสียอ ำ�นาจ กลุ่มม วลชนท ีเ่ป็น
อิสระแ ละรวมก ันโดยสมัครใจจริงๆ ยังไม่เกิดขึ้นอย่างช ัดเจน ดังท ี่กล่าวม าแ ล้วข้างต ้น
หลังจ ากศ ึกษาเนื้อหาสาระเรื่องที่ 5.3.1 แล้ว โปรดป ฏิบัติกิจกรรม 5.3.1
ในแ นวก ารศึกษาหน่วยที่ 5 ตอนท ี่ 5.3 เรื่องที่ 5.3.1