Page 91 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 91
โครงสร้าง และสถาบันการเมืองการปกครองของไทย 5-81
อิทธิพลจากกระแสตะวันตกนิยม (Westernization) ที่เริ่มเข้ามาสู่สยามหรือไทย และชนชั้น
ผ ู้ปกครองเริ่มเรียนรู้และเลือกรับเข้ามาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 ได้มีก ารเปิดรับก ว้างขวางขึ้น พร้อมๆ กับได้
นำ�มาป รับเปลี่ยนบริบทก ารเมืองท ี่ม ีอ ยู่เดิมหลายอย่างม ากขึ้นต ามลำ�ดับ ตั้งแต่ พ.ศ. 2435–2453 จนถึงการ
เปลี่ยนแปลงก ารเมืองก ารป กครอง พ.ศ. 2475 และห ลังจ ากนั้น
ระบบราชการได้เกิดการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาความเป็นสถาบันทางการเมืองการปกครองเป็น
สถาบันแ รกๆ ตั้งแต่ช่วง พ.ศ. 2435–2453 เป็นต้นม า และส ามารถพัฒนาสถาบันให้ม ีค วามเข้มแข็งได้อย่าง
ต่อเนื่องมาตลอดก ว่า 100 ปี นอกจากนั้น ชนชั้นนำ�ทางก ารเมือง ตั้งแต่ “คณะราษฎร” เป็นต้นม า มักจ ะนำ�
เอาองค์กรทหารเข้ามาเป็นเครื่องมือและกลไกสำ�คัญในการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองหลายต่อหลายครั้ง
เพราะเป็นสถาบันที่มีความเข้มแข็งและมีพลังอำ�นาจบังคับได้โดยตรง ส่วนสถาบันทางการเมืองที่จัดตั้งขึ้น
ในภายหลังเมื่อ “คณะราษฎร” ต้องการเปลี่ยนแปลงให้เป็น “ประชาธิปไตยรัฐสภา” หรือ “พระม หาก ษัตริย์
ทรงมีพระร าชอำ�นาจจ ำ�กัด” คือ รัฐธรรมนูญ รัฐสภา รัฐบาล พรรคการเมือง และก ารเลือกตั้ง ยังเป็น “ของ
ใหม่” และชนชั้นนำ�ทางการเมืองส่วนใหญ่ไม่ค่อยไว้วางใจ หรือยังไม่ยอมรับมากนัก ประกอบกับขาดพลัง
ทางส ังคมที่มาจ ากก ลุ่มต่างๆ ของป ระชาชนมาสนับสนุน เพราะคนไทยส่วนใหญ่ไม่มีแ นวคิดและว ัฒนธรรม
ในก ารมีส ่วนร่วมท างการเมือง การเมืองไทยจึงเป็นการเมืองข อง “ชนชั้นนำ�ทหารและข้าราชการ” ของร ัฐ ซึ่ง
ก็ห มายถึง ความม ั่นคง และอ ำ�นาจทางการเมืองข องก ลุ่มค นเหล่าน ี้ด้วย
กลุ่มทุนและน ักธุรกิจได้เข้มแ ข็งม ากขึ้น ภายห ลังยุคเริ่มต้นพ ัฒนาอุส าห กรร ม พ.ศ. 2504 เป็นต้น
มา และเข้มแข็งมากยิ่งขึ้นเมื่อแสวงหาผลกำ�ไรได้อย่างก ว้างขวางจ ากทุนข ้ามช าติในยุคโลกาภ ิวัตน ์ หลังก าร
ล่มส ลายข องสหภาพโซเวียต-รัสเซีย ตั้งแต่ช่วง พ.ศ. 2532 เป็นต้นม า พลังอ ำ�นาจของกลุ่มทุนจ ึงเริ่มสามารถ
ท้าทายพลังอำ�นาจของทหารและระบบร าชการได้มากขึ้น จนการร ัฐประหาร หรือ “ปืน” ได้ร ับก ารต่อต ้านจาก
คนระดับต่างๆ กว้างข วางข ึ้น ตั้งแต่ยุค รสช. และห ลังเหตุการณ์ 17–20 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 เป็นต้นม า
แต่อย่างไรก ็ตาม กลุ่มท ุน หรือ “เงิน” ก็ไม่ได้ม ีเป้าหมายส ำ�คัญเพื่อก ารสร้างสรรค์แ ละพัฒนาป ระชาธิปไตย
(Democratization) อย่างแท้จริง เพราะไม่ได้แ สดงบ ทบาททางการเมืองไปในท างสนับสนุนการส ร้างความ
เขม้ แ ขง็ แ ละม ั่นคงใหก้ ับก ารเลือกต ั้ง พรรคการเมือง รัฐสภา รฐั บาล และร ัฐธรรมนูญ แตอ่ ยา่ งใด การเข้าม าจ ดั
ตั้งพ รรคการเมืองแ ละเข้าส ูอ่ ำ�นาจผ ่านก ระบวนการเลือกต ั้งข องก ลุ่มค นเหล่าน ีม้ ักเป็นไปเพื่อป ระโยชนเ์ฉพาะ
หน้า คือ การไดต้ ำ�แหน่งส าธารณะแ ละม โีอกาสจ ัดต ั้งร ัฐบาล และม อี ำ�นาจก ำ�หนดน โยบายส าธารณะท ีส่ ามารถ
ใชอ้ ำ�นาจไปเอื้อป ระโยชนใ์หก้ ับธ ุรกิจข องต นเอง เครือญ าตแิ ละพ วกพ ้อง บริวารได้ เพราะก ลไกก ารต รวจส อบ
ในร ะบบก ารเมืองในย ุคแ รกย ังม ีน ้อยแ ละอ ่อนแอ จนกระทั่งในย ุคป ฏิรูปก ารเมือง ภายใต้ร ัฐธรรมนูญฯ พ.ศ.
2540 เป็นต้นมา จึงม ีก ลไกซ ับซ ้อน และม ีพ ลังในก ารต รวจส อบม ากข ึ้นก ว่าเดิม แต่กลุ่มท ุนใหญ่ก ็พ ยายามจ ะ
ใช้อ ำ�นาจท างการเมืองแ ทรกแซงผ่าน “ความส ัมพันธ์เชิงอุปถัมภ์” “ระบบเครือญาติ” และ “การแ ลกเปลี่ยน
ผลป ระโยชน์” ระหว่างฝ่ายก ารเมือง ข้าราชการป ระจำ� และน ักธุรกิจและกลุ่มธ ุรกิจ จนพัฒนาการของข บวน
การคอรัปชันท างการเมืองได้ข ยายโครงสร้าง และส ถาบันก ว้างข วางและมีอิทธิพลม ากขึ้นต ามลำ�ดับ
พฒั นาการข องพ ฤตกิ รรมแ ละเครอื ข า่ ยค อรปั ช นั ท างการเมอื งย ิง่ ม คี วามก า้ วหนา้ และเขม้ แ ขง็ ข ึน้ ม าก
เท่าใด โครงสร้าง และส ถาบันทางการเมืองประชาธิปไตย ตั้งแต่ก ารเลือกตั้ง พรรคการเมือง รัฐสภา รัฐบาล