Page 49 - นโยบาย การวางแผน และการพัฒนาคุณภาพการศึกษา หน่วยที่ 10
P. 49

10-39

ในการจัดท�ำรายงานการประเมินตนเอง/ให้ความร่วมมือกับสถานศึกษาในการให้ข้อมูลพื้นฐานทั่วไปท่ีคณะ
กรรมการประเมินผลภายในต้องการ/ศึกษาผลการประเมินเพ่ือน�ำมาปรับปรุงมาตรฐานการปฏิบัติงานของ
ตนเอง และให้ข้อเสนอแนะ แลกเปล่ียนเรียนรู้กับผู้ร่วมงานเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาคุณภาพ

       ส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา มีบทบาทในการศึกษาวิเคราะห์ วิจัย และเผยแพร่นวัตกรรมเกี่ยวกับ
รูปแบบและเทคนิควิธีการประกันคุณภาพภายในอย่างต่อเน่ือง รวมทั้งส่งเสริม สนับสนุน และร่วมพัฒนา
ระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา

       กรรมการสถานศึกษา มีบทบาทในการก�ำหนดทิศทางและนโยบาย ตลอดจนติดตามการด�ำเนินงาน
ของสถานศึกษา และในส่วนของการประกันคุณภาพการศึกษา กรรมการสถานศึกษาควรมีหน้าที่ในการท�ำ
ความเข้าใจเก่ียวกับการประกันคุณภาพ และมาตรฐานคุณภาพ เพ่ือก�ำหนดทิศทาง เป้าหมายในการประกัน
คุณภาพที่สอดคล้องกับมาตรฐาน และก�ำกับ ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาและการประกันคุณภาพของ
สถานศึกษา ตลอดจนร่วมก�ำหนดนโยบายในการด�ำเนินการอีกท้ังติดตามผลการด�ำเนินการ ให้ข้อเสนอแนะ
เพื่อการพัฒนา ผู้เรียน มีบทบาทในการติดตามและให้ข้อมูลย้อนกลับเกี่ยวกับคุณภาพการจัดการเรียน
การสอน เช่น การประเมินผู้สอน การประเมินกิจกรรมและปัจจัยสนับสนุน การร่วมด�ำเนินการตามมาตรฐาน
ท่ีสถานศึกษาก�ำหนด 7) การมีวิสัยทัศน์ การปฏิบัติงานโดยมีเป้าหมายและวิสัยทัศน์เพ่ือเป็นจุดช้ีน�ำการ
ด�ำเนินการท่ีชัดเจน ท�ำให้สมาชิกในองค์การมองเห็นถึงภาพอนาคตเพื่อก�ำหนดเป้าหมายและความส�ำเร็จ
โดยมพี นื้ ฐานอยบู่ นความเปน็ จรงิ ทงั้ ในอดตี ปจั จบุ นั

       พ่อแม่ ผู้ปกครอง มีบทบาทในการให้ข้อมูลเก่ียวกับผู้เรียนเพ่ือสะท้อนผลการด�ำเนินงานของ
สถานศกึ ษา ตดิ ตามผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ใหข้ อ้ เสนอแนะ รวมทงั้ มสี ว่ นรว่ มในพฒั นาผเู้ รยี น
ทบ่ี า้ น

       ชมุ ชน มบี ทบาทในการรว่ มคดิ รว่ มทำ� รว่ มใชแ้ ละใหข้ อ้ มลู เพอ่ื การกำ� หนดเปา้ หมายของสถานศกึ ษา
ตลอดจนร่วมตรวจสอบติดตามผลการด�ำเนินงานเพื่อเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงและพฒั นา

       ส่ือมวลชน มีบทบาทในการติดตามข้อมูล เพ่ือประชาสัมพันธ์เผยแพร่ข้อมูลต่าง ๆ รวมท้ังผลการ
ประเมนิ ให้กับสาธารณชนได้รับทราบ

       7.	 ตัวอย่างแบบแผนพฤติกรรมที่เป็นวัฒนธรรมคุณภาพ 5 ประการ มีดังนี้
            7.1) 	 การทำ� ใหถ้ กู ตอ้ งตงั้ แตเ่ รม่ิ ตน้ และตลอดไป อนั หมายถงึ การประพฤตปิ ฏบิ ตั ใิ ด ๆ กต็ าม

จะต้องมีการไตร่ตรองและคิดถึงคุณภาพอยู่เสมอ ดังน้ัน องค์การจะมีลักษณะของการกระท�ำท่ีพยายามจะ
กระท�ำส่ิงที่ดีที่สุด สิ่งที่เป็นไปตามความคาดหวังของผู้ใช้บริการ และพิจารณาถึงมาตรฐานของการปฏิบัติมี
การเปรียบเทียบกับเกณฑ์ซ่ึงจะเป็นการลดโอกาสผิดพลาดอันมีผลต่อคุณภาพการด�ำเนินการ

            7.2) 	 การปรับปรุงอย่างต่อเน่ือง การยึดม่ันในระบบคุณภาพ PDCA อันเป็นการกระท�ำที่จะ
น�ำไปสู่การพัฒนาสมาชิกในองค์การให้มีการประเมินผลการท�ำงานของตนเองและพร้อมท่ีจะรับการประเมิน
จากการเปรยี บเทยี บกบั เกณฑม์ าตรฐานทไี่ ดก้ ำ� หนดไวแ้ ละนำ� ผลนน้ั ไปปรบั ปรงุ แกไ้ ขอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง พฤตกิ รรม
ของสมาชิกในองค์การจะพบว่ามีการท�ำงานอย่างเป็นระบบ ไม่รู้สึกกังวลจากการถูกประเมิน ชื่นชมยินดีที่จะ
รับการประเมิน เพราะถือว่าการประเมิน คือ จุดเริ่มต้นของการปรับปรุงและการพัฒนาไปสู่คุณภาพ
   44   45   46   47   48   49   50   51   52