Page 48 - นโยบาย การวางแผน และการพัฒนาคุณภาพการศึกษา หน่วยที่ 10
P. 48
10-38
(improvement) ซ่ึงเป็นการปรับส่ิงท่ีท�ำอยู่ให้ยกระดับสู่ระดับมาตรฐานคุณภาพจะกระท�ำกับประเด็นท่ียัง
ไม่บรรลุมาตรฐาน ยังมีจุดอ่อนท่ีต้องปรับปรุง/การรักษาสภาพท่ีดีอยู่ให้คงไว้ (maintenance) ด�ำเนินการ
ส�ำหรับประเด็นท่ีสิ่งนั้นอยู่ในสภาพที่เป็นไปตามมาตรฐานอยู่แล้ว ซึ่งจ�ำเป็นที่จะต้องด�ำเนินการให้สิ่งนั้นคง
สภาพความมมี าตรฐานอยู่ และการพฒั นา (development) เปน็ การดำ� เนนิ การยกระดบั คณุ ภาพของการดำ� เนนิ
การท้ังส่ิงที่ดีอยู่และสิ่งที่ต้องปรับปรุง เพื่อให้เกิดการพัฒนาให้ดียิ่ง ๆ ข้ึน
6. จากมาตรา 9 (6) แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ว่าด้วยการจัดระบบ โครงสร้างและ
กระบวนการจัดการศึกษา ก�ำหนดให้ยึดหลักการมีส่วนร่วมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์การชุมชน
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์การเอกชน องค์การวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และ
สถาบันสังคมอ่ืน อีกท้ังในกฎกระทรวงได้ก�ำหนดให้การด�ำเนินการประกันคุณภาพในสถานศึกษาให้ยึดหลัก
การมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานที่เก่ียวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ซึ่งผู้เกี่ยวข้อง
ควรประกอบด้วยบุคคลต่อไปนี้ ผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรในสถานศึกษา ส�ำนักงานเขตพื้นที่การ
ศึกษา กรรมการสถานศึกษา ผู้เรียน พ่อแม่ ผู้ปกครอง ชุมชน ส่ือมวลชน ฯลฯ ซึ่งแต่ละบุคคลอาจมีบทบาท
หน้าที่หรือมีส่วนร่วมในการประกันคุณภาพ ดังนี้ ผู้บริหารสถานศึกษา มีบทบาทในการที่จะต้อง 1) ท�ำ
ความเข้าใจเก่ียวกับคุณภาพของงานตามมาตรฐานที่ควรจะเป็นตามระบบประกันคุณภาพ/ก�ำหนดนโยบาย
วัตถุประสงค์ท่ีชัดเจนเก่ียวกับการประกันคุณภาพการศึกษา สร้างความเข้าใจให้กับผู้เกี่ยวข้อง รวมทั้งศึกษา
จัดท�ำแผนส่งเสริม สนับสนุน อ�ำนวยความสะดวก ให้ค�ำปรึกษา ดูแลให้มีการประกันคุณภาพภายในท่ีทุก
ฝ่ายเข้ามามีส่วนร่วมก�ำกับติดตามการด�ำเนินงาน น�ำผลจากการประเมินคุณภาพมาปรับปรุง และรายงานผล
ต่อสาธารณชน 2) เตรียมความพร้อมของบุคลากร โดยสร้างความตระหนักปลูกจิตส�ำนึกให้บุคลากร
ทุกฝ่ายมองเห็นคุณค่าและมีความเข้าใจท่ีถูกต้องตรงกันเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในและพัฒนา
ความรู้ทักษะต่าง ๆ 3) แต่งตั้งคณะกรรมการหรือร่วมกันด�ำเนินการประกันคุณภาพภายใน สร้างทีมงานร่วม
ในการด�ำเนินการ 4) ก�ำกับ ดูแล ช่วยเหลือสนับสนุนให้ทุกฝ่ายท�ำงานร่วมกันและเชื่อมโยงกันเป็นทีมเพ่ือ
ให้การด�ำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล 5) บริหารจัดการส่งเสริม สนับสนุน อ�ำนวย
ความสะดวก ให้ค�ำปรึกษา แนะน�ำ ดูแลให้มีการประกันคุณภาพภายใน ส่งเสริมการด�ำเนินการในระบบ
PDCA ในทุกหน่วยงาน 6) เป็นแกนน�ำในการจัดท�ำรายงานประเมินตนเอง หรือรายงานประจ�ำปี รวบรวม
ผลการด�ำเนินงาน และผลการประเมิน วิเคราะห์ตามมาตรฐาน และเขียนรายงาน 7) เป็นแกนหลักในการน�ำ
ผลการประเมินมาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานของสถานศึกษา
ครแู ละบุคลากรในสถานศึกษา มบี ทบาทในการศึกษาวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ตลอดจนนโยบายของ
สถานศึกษา ด้านการประกันคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาท่ีก�ำหนด/ท�ำความเข้าใจในภารกิจของตนเอง
ให้ชัดเจน ก�ำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายในการด�ำเนินการที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ เป้าหมายของ
สถานศึกษาและมาตรฐานการศึกษาและวางแผนในการด�ำเนินการเพื่อตอบสนองวัตถุประสงค์และเป้าหมาย/
ติดตามและประเมินผลการด�ำเนินงานของตนเองอย่างเป็นระบบ พัฒนางานให้เกิดคุณภาพอย่างต่อเน่ือง/
จัดท�ำข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานของตนเอง/ให้ความร่วมมือในภารกิจอ่ืน ๆ ที่เก่ียวข้อง
กบั การประกนั คุณภาพของสถานศึกษา อาจเขา้ รว่ มเป็นกรรมการหรือผู้รบั ผิดชอบในการประกันคุณภาพร่วม