Page 43 - นโยบาย การวางแผน และการพัฒนาคุณภาพการศึกษา หน่วยที่ 10
P. 43
10-33
3. วงจรคณุ ภาพ (PDCA) ซง่ึ W. Edwards Deming พฒั นาขนึ้ หลายคนจงึ เรยี กวงจรนว้ี า่ “วงจร
Deming” หรือวงจร PDCA อันเป็นกิจกรรมพื้นฐานในการพัฒนาประสิทธิภาพและคุณภาพของการด�ำเนิน
งาน เป็นเคร่ืองมือส�ำหรับการปรับปรุงกระบวนการท�ำงานซ่ึงประกอบด้วยข้ันตอนท่ีด�ำเนินการเป็นวงจรอย่าง
ต่อเนื่อง ได้แก่
1) การวางแผน (Planing) หมายถงึ การวางแผนการดำ� เนนิ งานรวมถงึ การกำ� หนดเปา้ หมาย/
วัตถุประสงค์ในการด�ำเนินงานก�ำหนดขั้นตอนและวิธีการท่ีจ�ำเป็น เพื่อให้การดำ� เนินงานให้บรรลุเป้าหมาย
ในการวางแผนจะต้องท�ำความเข้าใจกับเป้าหมายวัตถุประสงค์ให้ชัดเจน ซ่ึงเป้าหมายท่ีก�ำหนดต้องเป็นไป
ตามนโยบาย วสิ ัยทัศน์ และพนั ธกิจขององคก์ าร เพอ่ื ก่อใหเ้ กดิ การพฒั นาไปในทิศทางเดยี วกนั ทวั่ ทง้ั องคก์ าร
ในการวางแผนควรต้องก�ำหนดมาตรฐาน ตัวชี้วัด และเกณฑ์อันเป็นมาตรฐาน เพ่ือใช้ในการประเมินความ
ส�ำเร็จของการด�ำเนินการตามแผนที่ก�ำหนด
2) การปฏิบัติตามแผน (Doing) หมายถึง การปฏิบัติงานให้เป็นไปตามแผนและมาตรฐาน
ที่ก�ำหนด โดยก่อนที่จะปฏิบัติจริงต้องศึกษาข้อมูลและเงื่อนไขต่าง ๆ ทราบวิธีการและข้ันตอนการปฏิบัติ
จะต้องด�ำเนินการไปตามแผนวิธีการและข้ันตอนท่ีได้ก�ำหนดไว้ และจะต้องเก็บรวบรวมและบันทึกข้อมูล
ท่ีเก่ียวข้องเพ่ือใช้เป็นข้อมูลในขั้นตอนต่อไป
3) การตรวจสอบการปฏิบัติตามแผน (Checking) หมายถึง การตรวจสอบและประเมินผล
แผนการด�ำเนินงานตามแผน ท้ังดา้ นกระบวนการและผลลัพธว์ ่าเปน็ ไปตามมาตรฐานทีก่ �ำหนดหรอื ไม่ ซึง่ การ
ติดตามตรวจสอบและการประเมินปัญหาเป็นการด�ำเนินการเพ่ือประโยชน์ในการพัฒนาปรับปรุงและพัฒนา
คุณภาพของงาน ทั้งนี้ ในการประเมินสามารถท�ำได้เองในลักษณะของการประเมินตนเอง
4) การปรับปรุงแกไ้ ข (Action) หมายถึง การปรับปรุง การแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขึ้นจากการท่ีได้
ท�ำการตรวจสอบแล้วแก้ไขแบบเร่งด่วนเฉพาะหน้าหรือการค้นหาสาเหตุที่แท้จริงเพ่ือป้องกันไม่ให้เกิดปัญหา
ซ้�ำ การปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นไม่ว่าจะเป็นขั้นตอนใดก็ตาม จะเป็นการแก้ไขปรับปรุงเพื่อให้เกิด
คุณภาพ ดังนั้น วงจร PDCA จึงเรียกว่า วงจรบริหารงานคุณภาพ
4. ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ประกอบด้วย ระบบประกันคุณภาพภายใน ซึ่งประกอบ
ด้วย การประเมินคุณภาพภายใน การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา และการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
และระบบการประกันคุณภาพภายนอก ซ่ึงประกอบด้วย การประเมินคุณภาพภายนอกและการติดตามตรวจ
สอบคุณภาพการศึกษา โดยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาให้เป็นไปตามที่ก�ำหนด
ในกฎกระทรวง ระบบการประกันคุณภาพภายใน เป็นการด�ำเนินการเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและ
พัฒนามาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ซึ่งประกอบด้วย
1) การประเมินคุณภาพภายใน ซ่ึงเป็นการประเมินผลและการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพ
และมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายใน โดยบุคลากรของสถานศึกษานั้นเองหรือโดยหน่วยงาน
ต้นสังกัดที่มีหน้าที่ก�ำกับดูแลสถานศึกษาน้ัน
2) การตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษา เป็นกระบวนการติดตามตรวจสอบความก้าวหน้า
ของการปฏิบัติตามแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา และจัดท�ำรายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพ
การศึกษา พร้อมทั้งเสนอแนะมาตรการเร่งรัดการพัฒนาคุณภาพการศึกษา