Page 40 - นโยบาย การวางแผน และการพัฒนาคุณภาพการศึกษา หน่วยที่ 10
P. 40

10-30

       5.	 การด�ำเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาระดับพื้นฐาน ประกอบด้วย 8 ขั้นตอน คือ
            1) 	ก�ำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
            2) 	จัดท�ำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา

ของสถานศึกษา
            3) 	จัดระบบบริหารและสารสนเทศ
            4) 	ด�ำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
            5) 	จัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
            6) 	จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
            7) 	จัดท�ำรายงานประจ�ำปีท่ีเป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน
            8) 	จัดให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง

       6. 	ปัจจัยที่ส่งเสริมให้เกิดความส�ำเร็จในการประกันคุณภาพการศึกษา ประกอบด้วย
       ปจั จยั ดา้ นคน
       ผบู้ รหิ ารทม่ี ภี าวะผนู้ ำ� (leadership) ทส่ี ามารถสรา้ งพลงั จงู ใจใหก้ บั บคุ ลากรในสถานศกึ ษา ตระหนกั
และเห็นความส�ำคัญ รวมท้ังมีทัศนคติที่ดีต่อการประกันคุณภาพ ทุ่มเท มีความมุ่งมั่น สนใจใฝ่รู้ และให้การ
ส่งเสริมและสนับสนุนในการด�ำเนินการประกันคุณภาพ รวมทั้งใช้การบริหารแบบมีส่วนรวม
       กรรมการสถานศึกษา ต้องมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการประกันคุณภาพการศึกษา มีการก�ำหนด
นโยบายที่ชัดเจน มีการก�ำกับติดตามผลการด�ำเนินการประกันคุณภาพของสถานศึกษา
       ครูได้รับการพัฒนาและส่งเสริมให้มีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะในการด�ำเนินประกันคุณภาพ
มีความเป็นมืออาชีพในการสอน ด�ำเนินการตามภารกิจของตนเองด้วยระบบคุณภาพโดยใช้วงจรคุณภาพ
PDCA ในการด�ำเนินงานอย่างต่อเนื่อง
       ปัจจัยดา้ นระบบ
       มีระบบคุณภาพ (quality system) ท่ีแสดงถึงขอบข่ายความรับผิดชอบ (responsibility) ซ่ึงมี
โครงสร้างความรับผดิ ชอบของบุคลากรระดับต่าง ๆ ทช่ี ัดเจน มกี ารจัดทำ� คมู่ ือระบบ (manual) ในการดำ� เนนิ
การประกันคุณภาพเพ่ือใช้เป็นแนวทางในการด�ำเนินการของสถานศึกษา
       ปจั จัยดา้ นการจดั การ
       การส่ือสาร (communication) เพ่ือสร้างความเข้าใจให้ตรงกัน เป็นการสื่อสารท่ัวทั้งองค์การ
       การก�ำกับติดตาม (controlling) ท�ำให้เห็นความก้าวหน้าในการด�ำเนินการตามแผนเพื่อสามารถ
แก้ไขข้อผิดพลาด และช่วยท�ำให้บุคลากรเกิดขวัญก�ำลังใจในการปฏิบัติงาน
       ความร่วมมือ (cooperative) ความร่วมมือร่วมใจของบุคลากรทุกคน การประสานงานท่ีดี และ
พัฒนาความร่วมมือให้เกิดเป็นทีมท�ำงาน (teamwork) จะท�ำให้เกิดพลังขับเคล่ือนการด�ำเนินงานประกัน
คุณภาพ
       วัฒนธรรมองค์การ (organizational culture) เป็นแบบแผนความเข้าใจ ค่านิยม บรรทัดฐาน
แนวทางในการประพฤติท่ีสมาชิกในองคก์ ารยดึ ถือและยอมรบั เป็นคุณค่ารว่ มกัน มีการถา่ ยทอดไปยังสมาชิก
รุ่นใหม่ มีผู้น�ำเป็นแกนในการก�ำหนดและพัฒนา
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45