Page 38 - นโยบาย การวางแผน และการพัฒนาคุณภาพการศึกษา หน่วยที่ 10
P. 38

10-28

เฉลยแบบประเมนิ ผลตนเองหนว่ ยท่ี 10

กอ่ นเรียน

       1. 	คณุ ภาพมคี วามหมายเกยี่ วกบั ความดเี ลศิ การมปี ระสทิ ธภิ าพ การไดม้ าตรฐานตามวตั ถปุ ระสงค์
ท่ีก�ำหนดไว้โดยค�ำนึงถึงความต้องการหรือความพึงพอใจของผู้ใช้บริการทั้งยังต้องมีการพัฒนาให้ดีข้ึนอย่าง
ต่อเน่ือง ระบบคุณภาพมีองค์ประกอบหลัก 3 ประการ คือ

       การวางแผนคุณภาพ (quality planning) หมายถึง การก�ำหนดเป้าหมายคุณภาพท่ีชัดเจน
มีแนวทางการพัฒนาผลผลิตให้มีคุณลักษณะตามความต้องการ และพัฒนากระบวนการที่สามารถผลิต
ผลผลิตให้เป็นคุณลักษณะที่ต้องการ อีกทั้งมีการก�ำหนดกระบวนการควบคุมและการถ่ายทอดแผนไปสู่การ
ปฏิบัติให้เกิดผลตามท่ีก�ำหนด

       การควบคุมคุณภาพ (quality control) หมายถึง การควบคุมการด�ำเนินงานให้เกิดผลผลิตที่มี
คุณภาพ ซึ่งจะต้องมีการประเมินผลการด�ำเนินงานตามที่ปฏิบัติจริงเพื่อเปรียบเทียบผลการปฏิบัติดังกล่าว
กับเป้าหมายคุณภาพท่ีก�ำหนดเพ่ือจัดการกับส่ิงที่ไม่สามารถบรรลุเป้าหมายได้

       การปรบั ปรงุ คณุ ภาพ (quality improvement) หมายถงึ การดำ� เนนิ การเพอื่ เพม่ิ ผลผลติ ซงึ่ ประกอบ
ด้วยการกระท�ำ อาทิ การปฏิบัติเพ่ือการพัฒนาผลผลิตให้เกิดลักษณะใหม่ ๆ เพ่ือก่อให้เกิดความพึงพอใจ
แก่ผู้ใช้บริการ การปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพจะครอบคลุมถึงการพัฒนาผลผลิต การพัฒนากระบวนการ
และบุคลากรที่เป็นพื้นฐานของการพัฒนา

       2. 	คุณภาพการศึกษา หมายถึง คุณลักษณะที่พึงประสงค์ที่มีความเป็นเลิศทางด้านต่าง ๆ ทั้งด้าน
การบริหารและด้านวิชาการ โดยผ่านกระบวนการผลิตและเป็นระบบซ่ึงประกอบด้วย ปัจจัยน�ำเข้า
กระบวนการ และผลผลิตตามกรรมวิธีการวัดด้วยเครื่องมือท่ีมีประสิทธิภาพและเป็นท่ียอมรับของสังคม
การประกันคุณภาพการศึกษา หมายถึง การท�ำกิจกรรม หรือการปฏิบัติภารกิจหลักอย่างมีระบบตามแบบ
แผนที่ก�ำหนดไว้ โดยมีการควบคุมคุณภาพ (quality control) การตรวจสอบคุณภาพ (quality auditing)
และการประเมินคุณภาพ (quality assessment) ตลอดจนการรับรองคุณภาพ (quality accreditation)
จนท�ำให้เกิดความมั่นใจในคุณภาพและมาตรฐานของระบบและกระบวนการผลิต ผลผลิตและผลลัพธ์ของ
การจัดการศึกษา ซ่ึงการประกันคุณภาพมีความส�ำคัญต่อการศึกษา คือช่วยป้องกันการจัดการศึกษาท่ีไม่มี
คุณภาพ ซึ่งจะเป็นการคุ้มครองผู้บริโภคและเกิดความเสมอภาคในโอกาสที่จะได้รับการบริการทาง
การศึกษาท่ีมีคุณภาพอย่างทั่วถึง ช่วยท�ำให้ประชาชนได้รับข้อมูลคุณภาพการศึกษาที่เชื่อถือได้ เกิดความ
เช่ือม่ันและสามารถตัดสินใจเลือกใช้บริการท่ีมีคุณภาพมาตรฐาน และท�ำให้ผู้รับผิดชอบในการจัดการศึกษา
มุ่งบริหารจัดการศึกษาสู่คุณภาพและมาตรฐานอย่างจริงจัง ซึ่งมีผลให้การศึกษามีพลังที่จะพัฒนาประชากร
ให้มีคุณภาพอย่างเป็นรูปธรรมและต่อเนื่อง
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43