Page 22 - การสัมมนาทางการแนะแนว และการปรึกษาเชิงจิตวิทยา หน่วยที่ 4
P. 22

4-12 การสัมมนาทางการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา

      ตารางที่ 4.2 สถติ ปิ ระชากรอายุ 60 ปขี ้นึ ไปของประเทศไทย พ.ศ. 2542-2552

พ.ศ.  60-<65  กล่มุ อายุ (ป)ี                    70+  ผู้สูงอายุรวม ประชากรรวม  % ของ
                65-<70                                   (1) (2)                (1)/(2)

เกณฑ์สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) *                                           ≥10
                                                                                 ≥20
เกณฑ์สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society) *                                  9.00
                                                                                 9.21
2542 1,775,104 1,381,475 2,112,359                    5,268,938  58,570,453      9.46
                                                      5,421,999  58,875,950      9.76
2543 1,802,902 1,418,505 2,200,592                    5,614,392  59,362,288     10.02
                                                      5,845,689  59,887,912     10.18
2544 1,815,101 1,491,784 2,307,507                    6,035,133  60,204,071     10.39
                                                      6,161,172  60,549,324     10.64
2545 1,872,448 1,523,598 2,449,643                    6,335,988  60,991,109     10.90
                                                      6,533,470  61,395,496     11.17
2546 1,885,785 1,580,908 2,568,440                    6,705,061  61,540,020     11.54
                                                      6,904,598  61,828,099
2547 1,879,491 1,613,819 2,667,862                    7,176,819  62,194,581

2548 1,898,284 1,646,587 2,791,117

2549 1,952,959 1,654,158 2,926,353

2550 1,994,092 1,687,828 3,023,141

2551 2,109,501 1,661,719 3,133,378

2552 2,238,770 1,689,966 3,248,083

ที่มา: 	ส ถิติประชากร ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำ�นักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
     (ประมวลผลจากฐานข้อมูล “ทะเบียนราษฎร์” สำ�นักบริหารการทะเบียนกรมการปกครอง) (2553: 3)
         * ดูคำ�อธิบายในนิยาม

       การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ เป็นประเด็นที่ได้รับความสนใจกันเป็น
อย่างมากทั้งในระดับชาติและในระดับโลก เนื่องจากมีผลกระทบอย่างกว้างขวางในระดับมหภาคได้แก่
ผลต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) รายได้ต่อหัวของประชากร การออมและการลงทุน งบประมาณ
ของรัฐบาล การจ้างงานและผลิตภาพของแรงงาน และระดับจุลภาค ได้แก่ ผลตอ่ ตลาดผลติ ภัณฑแ์ ละบริการ
ดา้ นตา่ งๆ โดยเฉพาะดา้ นการเงนิ และดา้ นสขุ ภาพ การเตรยี มความพรอ้ มเพือ่ รองรบั การเปลีย่ นแปลงดงั กลา่ ว
จงึ เปน็ เรือ่ งเรง่ ดว่ นส�ำ คญั ทีต่ อ้ งการการวางแผนอยา่ งเปน็ ระบบและเริม่ ด�ำ เนนิ การลว่ งหนา้ เนือ่ งจากมาตรการ
ต่างๆ หลายประการล้วนแล้วแต่ต้องใช้เวลาในการดำ�เนินการกว่าจะเห็นผลเป็นรูปธรรม
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27