Page 23 - การสัมมนาทางการแนะแนว และการปรึกษาเชิงจิตวิทยา หน่วยที่ 4
P. 23

สัมมนาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยาผู้ใหญ่ 4-13

       การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรยังส่งผลให้อัตราส่วนภาระพึ่งพิงหรือภาระโดยรวมที่ประชากร
วัยทำ�งานจะต้องเลี้ยงดูประชากรวัยเด็กและวัยสูงอายุเปลี่ยนแปลงไป โดยภาระพึ่งพิงของเด็กมีแนวโน้มลด
ลง ขณะที่ภาระพึ่งพิงของผู้สูงอายุมีแนวโน้มสูงขึ้น

       ดังนั้น ในส่วนงานแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยาในประเทศไทยที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุก็ควร
มีการเพิ่มเติมเข้าไปมากขึ้น เพื่อรองรับผู้รับบริการที่เป็นวัยผู้สูงอายุ ทั้งในงานแนะแนวและการปรึกษาด้าน
บริหาร ด้านบริการและด้านวิชาการ

                                          ค�ำ นยิ าม

  “ผู้สูงอายุ”
         หมายถึง บุคคลที่มีอายุ 60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป (พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546)

  “สังคมผู้สูงอายุ” (Aging Society)
         หมายถงึ สงั คมทีม่ ปี ระชากรอายุ 60 ปขี ึน้ ไปทีอ่ ยูจ่ รงิ ในเพืน้ ทีต่ อ่ ประชากรทกุ ชว่ งอายใุ นพืน้ ที่

  เดยี วกนั ในอตั ราเทา่ กบั หรอื มากกวา่ รอ้ ยละ 10 ขึน้ ไป หรอื มปี ระชากรอายุ 65 ปขี ึน้ ไปทีอ่ ยูจ่ รงิ ในพืน้ ที่
  ต่อประชากรทุกช่วงอายุในพื้นที่เดียวกัน ในอัตราเท่ากับหรือมากกว่าร้อยละ 7 ขึ้นไป

  “สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์” (Aged Society)
         หมายถึง สังคมที่มปี ระชากรอายุ 60 ปขี ึ้นไปที่อยู่จรงิ ในพื้นที่ตอ่ ประชากรทุกชว่ งอายใุ นพืน้ ที่

  เดยี วกนั ในอตั ราเทา่ กบั หรอื มากกวา่ รอ้ ยละ 20 ขึน้ ไป หรอื มปี ระชากรอายุ 65 ปขี ึน้ ไปทีอ่ ยูจ่ รงิ ในพืน้ ที่
  ต่อประชากรทุกช่วงอายุในพื้นที่เดียวกัน ในอัตราเท่ากับหรือมากกว่าร้อยละ 14 ขึ้นไป

  “เกณฑ์สังคมผู้สูงอายุ”
         เป็นการนำ�เอานิยาม “การก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ” (Aging Society) และ “สังคมผู้สูงอายุโดย

  สมบูรณ์” (Aged Society) ขององค์การสหประชาชาติ (UN) มากำ�หนดเป็นเกณฑ์เพื่อใช้ในการดำ�เนนิ
  งานเฝ้าระวังการเป็นสังคมผู้สูงอายุในแต่ละพื้นที่

ที่มา: ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำ�นักงานปลัดกระทรวง กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (2553:
    15)

2. 	สภาพทพ่ี ึงประสงคข์ องการแนะแนวและการปรึกษาเชงิ จติ วิทยาผู้ใหญด่ ้านบริหาร

       สภาพที่พึงประสงค์ของการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยาผู้ใหญ่ด้านบริหาร ควรครอบคลุม
ในเรือ่ งการจดั องคก์ รแนะแนว บคุ ลากร สิง่ อ�ำ นวยความสะดวก งบประมาณ แนวทางการดำ�เนนิ งานแนะแนว
และการปรึกษาเชิงจิตวิทยาผู้ใหญ่ และความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานและชุมชน ดังนี้
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28