Page 12 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 12
3-2 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
หน่วยท ี่ 3
ชวี ิตกับสิ่งแวดลอ้ ม
เค้าโครงเนอื้ หา
ตอนท ี่ 3.1 สิ่งแ วดล้อมแ ละร ะบบน ิเวศ
3.1.1 แนวคิดเกี่ยวก ับส ิ่งแ วดล้อม
3.1.2 แนวคิดเกี่ยวก ับระบบนิเวศ
3.1.3 ความสัมพันธ์แ ละก ารหมุนเวียนส ารในระบบนิเวศ
3.1.4 การป รับตัวแ ละการเปลี่ยนแปลงแทนที่ข องก ลุ่มส ิ่งมีชีวิตในสิ่งแ วดล้อม
ตอนที่ 3.2 ความห ลากห ลายทางช ีวภาพ
3.2.1 ความหมายแ ละความส ำ�คัญข องความห ลากห ลายทางชีวภาพ
3.2.2 ปัจจัยท ี่ม ีอ ิทธิพลต่อความห ลากห ลายท างชีวภาพ
3.2.3 การอนุรักษ์ความหลากห ลายทางชีวภาพ
ตอนท ี่ 3.3 ประชากรม นุษย์แ ละม ลพิษทางสิ่งแวดล้อม
3.3.1 แนวคิดเกี่ยวก ับประชากร
3.3.2 โครงสร้างและการเปลี่ยนแปลงข องป ระชากรมนุษย์
3.3.3 มนุษย์กับม ลพิษทางสิ่งแ วดล้อม
3.3.4 มนุษย์ก ับการจ ัดการม ลพิษทางสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 3.4 ทรัพยากรธรรมชาติ
3.4.1 แนวคิดเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติ
3.4.2 ทรัพยากรแ หล่งน ํ้า
3.4.3 ทรัพยากรด ิน
3.4.4 ทรัพยากรป ่าไม้
แนวคดิ 1. ส ิ่งแ วดล้อม หมายถึง สิ่งที่อ ยู่ร อบต ัวม นุษย์ทั้งส ิ่งท ี่เกิดขึ้นเองตามธ รรมชาติและท ี่ม นุษย์
สร้างข ึ้น ส่วนร ะบบน ิเวศเป็นค วามส ัมพันธ์ร ะหว่างอ งค์ป ระกอบข องส ิ่งม ีช ีวิตแ ละส ิ่งไม่มี
ชีวิตในอ าณาเขตท ีช่ ัดเจน โดยก ลุ่มส ิ่งม ชี ีวิตอ าศัยอ ยูใ่นส ิ่งแ วดล้อมท ีแ่ ตกต ่างก ัน 2 กลุ่ม
คือ กลุ่มสิ่งมีชีวิตที่อยู่บนพื้นดินและในนํ้า สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์ในทางเกื้อกูลกัน
พึ่งพากันและทำ�ลายกัน ระบบนิเวศจะต้องมีการถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวียน