Page 16 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 16
3-6 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
4. ส ิ่งมีชีวิตต่างๆ ที่อาศัยในแต่ละแหล่งที่อยู่จะมีการเปลี่ยนแปลงแทนที่หรือมีการปรับ
ลักษณะของตนเพื่อให้เหมาะสมที่จ ะอยู่ร อดและแพร่พ ันธุ์ได้ในสภาพแวดล้อม การปรับ
ตัวมี 3 ลักษณะ คือ การปรับตัวทางรูปร่างลักษณะหรือทางสัณฐาน การปรับตัวทาง
สรรี วทิ ยา และก ารป รบั ต วั ท างพ ฤตกิ รรม ระบบน เิ วศม กี ารเปลีย่ นแปลงต ลอดเวลา ทัง้ จ าก
กิจกรรมของมนุษย์และกระบวนการตามธรรมชาติ มีทั้งที่เกิดขึ้นอย่างช้าๆ และรวดเร็ว
การเปลี่ยนแปลงอาจส่งผลต่อขนาดของประชากร บางชนิดสามารถดำ�รงอยู่ได้บางชนิด
ไม่สามารถอยู่ได้ เมื่อทิ้งไว้ระบบก็จะมีการทดแทนขององค์ประกอบให้คืนสภาพเดิมได้
จนอยู่ในภาวะสมดุล
วัตถปุ ระสงค์
เมื่อศ ึกษาตอนที่ 3.1 จบแ ล้ว นักศึกษาส ามารถ
1. จำ�แนกประเภทข องส ิ่งแ วดล้อมแ ละระบบน ิเวศได้
2. อธิบายหน้าที่และก ารท ำ�งานของส ิ่งม ีช ีวิตต ่างๆ ในระบบน ิเวศได้
3. อธิบายอ งค์ประกอบท ี่สำ�คัญของระบบน ิเวศ ทั้งที่ม ีชีวิตและไม่มีช ีวิต และความส ัมพันธ์
ขององค์ประกอบต ่างๆ ที่มีต่อก ันได้
4. อธิบายความส ำ�คัญและวัฏจักรข องธาตุท ี่ห มุนเวียนในร ะบบน ิเวศได้
5. อ ธบิ ายร ะบบก ารถ า่ ยทอดพ ลงั งานในร ะบบน เิ วศ ล�ำ ดบั ช ัน้ ข องอ าหาร โซอ่ าหาร และส ายใย
อาหารได้
6. อธิบายพ ร้อมท ั้งย กต ัวอย่างก ารป รับต ัวของส ิ่งมีช ีวิตแบบต ่างๆ ได้
7. อธิบายเกี่ยวก ับการเปลี่ยนแปลงแทนที่ข องกลุ่มส ิ่งมีชีวิตได้
8. เปรียบเทียบลักษณะ โครงสร้าง และการทำ�งานของระบบนิเวศที่กำ�ลังพัฒนาและระบบ
นิเวศขั้นส ุดได้