Page 20 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 20

3-10 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์

       เมื่อล​ องพ​ ิจารณาต​ ิดตามก​ ารเ​ดินท​ างข​ องอ​ ะตอมข​ องธ​ าตคุ​ าร์บอนต​ ัวใ​ดต​ ัวห​ นึ่ง ซึ่งค​ าร์บอนเ​ป็นธ​ าต​ุ
ที่เ​ป็นอ​ งค์​ประกอบ​หลักส​ ำ�คัญ​ของ​สาร​อินทรีย์ท​ ุก​ชนิดท​ ี่อ​ ยู่ใ​นเ​ซลล์ข​ อง​เรา เช่น แป้ง โปรตีน ไขม​ ัน ก่อนท​ ี่​
อะตอม​ของธ​ าตุ​คาร์บอน​จะเ​ข้า​มา​อยู่ใ​นต​ ัว​เรา ในร​ ะยะ​เวลา​ไม่น​ าน​นักก​ ่อน​หน้า​นี้ คาร์บอนต​ ัว​นี้​อาจจ​ ะอ​ ยู่​ใน​
สิ่งม​ ี​ชีวิตอ​ ื่น​ที่​เป็นอ​ าหาร เช่น วัว หรือ ข้าว เมื่อม​ าอ​ ยู่​ใน​ตัวเ​ราแ​ ล้วอ​ าจจ​ ะ​หลุดไ​ป​อยู่​ในแ​ บคทีเรีย หรือ​ออก​
ไป​ปะปน​อยู่​กับ​คาร์บอน​ตัว​อื่น​ใน​บรรยากาศ หรือ​อาจ​เข้าไป​สู่​พืช​หรือ​ละลาย​ใน​นํ้า​ก็ได้ จะ​เห็น​ได้​ว่า​อะตอม​
ของ​คาร์บอน​ตัว​นี้​เป็น​ส่วน​หนึ่ง​ของ​ระบบ​อัน​กว้าง​ใหญ่​ไพศาล​ที่​หมุนเวียน​เป็น​วัฏจักร และ​เมื่อ​เข้า​มา​อยู่​
ใน​ตัว​เรา อะตอม​ของ​คาร์บอนจ​ ะ​เป็น​ส่วน​หนึ่ง​ของ​ตัว​เรา​ด้วย สาร​บาง​ตัว​เข้าไป​อยู่​ใน​ร่างกายเ​พียงร​ ะยะส​ ั้น
บาง​ตัว​ยาวนาน แต่จ​ ะม​ ี​การ​หมุนเวียนอ​ ยู่​ใน​สิ่ง​แวดล้อม​อยู่​ตลอดเ​วลา

       จาก​ตัวอย่าง​จะ​เห็น​ว่า มนุษย์​นั้น​เป็น​ส่วน​หนึ่ง​ของ​สิ่ง​แวดล้อม เรา​จะ​ดำ�รง​ชีวิต​อยู่​ไม่​ได้​ถ้า​ขาด​
สิ่ง​แวดล้อม ทำ�นอง​เดียวกัน​สิ่ง​แวดล้อม​และ​สิ่ง​มี​ชี​วิ​ตอื่นๆ อาจ​จะ​ดำ�รง​อยู่​ไม่​ได้​โดย​ไม่มี​มนุษย์​เป็น​ส่วน​
ประกอบ ดัง​นั้น การ​ศึกษาส​ ิ่ง​แวดล้อมใ​น​ปัจจุบัน​จึง​เน้นก​ าร​ศึกษา​อย่าง​เป็น​ระบบ โดยเ​ริ่มจ​ ากก​ ารว​ ิเคราะห​์
ระบบ การนำ�​ข้อมูลม​ า​ประยุกต์แ​ ละ​การใ​ช้แ​ บบ​จำ�ลองเ​ลียน​แบบร​ ะบบ ซึ่งม​ ุ่ง​ศึกษา​ใน​เรื่องข​ อง​สิ่ง​มี​ชีวิต โดย​
เฉพาะ​ความ​แตก​ต่าง​ของ​เผ่า​พันธุ์​ซึ่ง​เป็น​ส่วน​หนึ่ง​ของ​การ​ศึกษา​ข้อมูล​ที่​ซ่อน​อยู่​ใน DNA พลังงาน สสาร
ทรัพยากรธรรมชาติ และก​ าร​ควบคุม​มลพิษ ทั้งนี้​เพื่อป​ รับปรุง​คุณภาพ​ชีวิต​ให้ด​ ี​ขึ้น

       ระบบส​ ง่ิ แ​ วดลอ้ ม (environmental system) หมายถ​ ึง กลุ่มข​ องส​ ิ่งแ​ วดล้อมท​ ีม่​ ีหน้าท​ ี่ มพี​ ฤติกรรม ม​ี
ความส​ ัมพันธ์ต​ ่อก​ ันแ​ ละอ​ ยู่ร​ วมต​ ัวก​ ันใ​นบ​ ริเวณใ​ดบ​ ริเวณห​ นึ่ง การด​ ำ�เนินก​ ิจกรรมห​ รือก​ ารแ​ สดงพ​ ฤติกรรม​
ของ​สิ่ง​แวด​ล้อ​มนั้นๆ จะ​แสดงออก​มา​ให้​เห็น​อย่าง​เด่น​ชัด​ใน​แต่ละ​ระบบ ระบบ​สิ่ง​แวดล้อม​มี​ทั้ง​ระบบ​สิ่ง​
แวดล้อม​ที่​เกิด​ขึ้น​เอง​ตาม​ธรรมชาติ และ​ระบบ​สิ่ง​แวดล้อม​ที่​มนุษย์​สร้าง​ขึ้น การ​กำ�หนด​ชื่อ​ของ​ระบบ​สิ่ง​
แวดล้อม​ขึ้นก​ ับก​ าร​ศึกษาว​ ่าก​ ำ�ลัง​ศึกษาใ​น​สิ่ง​ใด เช่น ระบบ​สิ่ง​แวดล้อมป​ ่าไ​ม้​จะ​เน้นก​ าร​ศึกษาป​ ่า​ไม้ ระบบ​สิ่ง​
แวดล้อม​พืชจ​ ะเ​น้น​การศ​ ึกษา​พืช เป็นต้น

       ระบบ​สิ่ง​แวดล้อม​เป็น​ส่วน​หนึ่ง​ของ​ระบบ​นิเวศ เช่น ระบบ​นิเวศ​ป่า​ไม้ อาจ​ประกอบ​ไป​ด้วย ระบบ​
สิ่งแวดล้อมป​ ่าย​ ืนต้น ระบบส​ ิ่งแ​ วดล้อมส​ ัตว์ป​ ่า ระบบส​ ิ่งแ​ วดล้อมน​ ํ้า และร​ ะบบส​ ิ่งแ​ วดล้อมด​ ิน สภาวะก​ ารณ​์
หรือส​ ถานะข​ อง​ระบบส​ ิ่ง​แวดล้อม​อาจอ​ ยู่​ในส​ ภาพ 3 ลักษณะ คือ

            1) 	ระบบ​พัฒนา (development system) เป็น​ระบบ​ที่​มี​สิ่ง​นำ�​เข้า (input) มากว่า​การนำ�​ออก​
ภายนอก​ระบบ (output)

            2) 	ระบบ​สมดุล (equilibium system) เป็น​ระบบ​ที่​มี​สิ่ง​นำ�​เข้า (input) เท่ากับ​การนำ�​ออก​
ภายนอกร​ ะบบ (output)

            3) 	ระบบถ​ กู ท​ �ำ ลาย (destruction system) เป็นร​ ะบบท​ ีม่​ สี​ ิ่งน​ ำ�​เข้า (input) น้อยก​ ว่าก​ ารนำ�​ออก​
ภายนอกร​ ะบบ (output)

       ดัง​นั้น การ​ศึกษา​ด้าน​สิ่ง​แวดล้อม​จำ�เป็น​ต้อง​สามารถ​วิเคราะห์​ระบบ​สิ่ง​แวดล้อม​นั้น​ได้​ว่า​อยู่​ใน​
สถานะใ​ด การว​ ิเคราะห์ร​ ะบบ​จึง​ต้อง​ทำ�การ​วิเคราะห์​ใน 4 ประการ ดังนี้

            1) 	ชนิด​หรอื ​ความห​ ลากห​ ลายข​ อง​ส่ิงม​ ​ีชวี ิต​หรือ​ชนดิ ​ของส​ ิง่ ​แวดล้อม (species diversity) ใน​
ระบบน​ ั้น​ว่าม​ ีส​ ิ่งม​ ีช​ ีวิตห​ รือ​สิ่งแ​ วดล้อมก​ ี่ช​ นิด อะไร​บ้าง
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25