Page 29 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 29
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 3-19
2.1.8 ไบโอมทนุ ดรา (tundra) เป็นอาณาเขตท ี่ไม่มีต ้นใม้ใหญ่ เนื่องจากในฤ ดูห นาวจะห นาว
และแ ห้งเกินก ว่าท ีต่ ้นไมใ้หญจ่ ะเจริญได้ นํ้าจ ะก ลายเป็นน ํ้าแ ข็งแ ละด ินจ ะถ ูกป กคลุมด ้วยน ํ้าแ ข็งต ลอดป ี อยู่
ในเขตหนาวตั้งแต่ละติจูด 60 องศาข ึ้นไป อุณหภูมิ -5 ถึง -40 องศาเซลเซียส ปริมาณฝ น 1,000 มิลลิเมตร
ต่อปี พบพ ืชเตี้ยๆ เช่น มอส ไลเคนส ์ หญ้า ไม้พ ุ่มเล็กๆ ในช ่วงฤ ดูร้อนยาวนานป ระมาณ 2 เดือน สัตว์ท ี่พ บ
มีน้อยชนิด เช่น กวางคาร ิบู กวางเรนเดียร์ กระต่ายป ่า แมวป่า หมาจิ้งจอก และห มี
ภาพท ่ี 3.12 ไบโอมทุนดรา
2.2 ชวี นิเวศในน า้ํ แบ่งอ อกเป็น 2 ไบโอม คือ ไบโอมแหล่งน ํ้าจ ืด และไบโอมแ หล่งนํ้าเค็ม
2.2.1 ไบโอมแ หลง่ น าํ้ จ ดื ประกอบด ว้ ย แหลง่ น ํา้ น ิง่ ไดแ้ ก่ ทะเลสาบ สระ หนอง บงึ และแ หลง่
นํ้าไหล ได้แก่ แม่นํ้า ลำ�คลอง ความแ ตกต ่างร ะหว่างน ํ้าน ิ่งก ับน ํ้าไหล ก็ค ือบ ริเวณท ี่ม ีน ํ้าไหล สิ่งแ วดล้อมท าง
กายภาพ เช่น อุณหภูมิและส ารเคมีต ่างๆ มีก ารเปลี่ยนแปลงได้เร็วก ว่าบริเวณท ี่มีช ายฝั่งล ้อมรอบห รือนํ้านิ่ง
ทำ�ให้ก ลุ่มส ิ่งม ีช ีวิตมีค วามแตกต่างก ันในแ ต่ละพ ื้นที่ พืชท ี่เจริญในแ หล่งน ํ้าจืด ได้แก่ จอก แหน ผักต บช วา
สาหร่ายหางกระรอก บัว สาหร่ายสีเขียว เป็นต้น สัตว์นํ้าที่เจริญในแหล่งนํ้าจืด ได้แก่ ปลาดุก ปลาช่อน
ปลาตะเพียน เป็นต้น
2.2.2 ไบโอมแหล่งนํ้าเค็ม พบไบโอมแหล่งนํ้าเค็มปริมาณมากถึงร้อยละ 71 ของพื้นผิว
โลก ประกอบด้วย ทะเล มหาสมุทรและแ หล่งนํ้าก ร่อย ซึ่งเป็นบ ริเวณร อยต่อระหว่างแหล่งน ํ้าจืดแ ละแ หล่ง
นํ้าเค็มมาบ รรจบก ัน มักพบบ ริเวณป ากแ ม่นํ้า ไบโอมแ หล่งนํ้าเค็มมีความลึกโดยเฉลี่ย 3,750 เมตร และม ี
การขึ้นลงของกระแสนํ้าเป็นปัจจัยทางกายภาพที่สำ�คัญ ซึ่งมีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงค่าความเค็มของ
นํ้าในแหล่งนํ้ากร่อยเป็นอย่างมาก สิ่งมีชีวิตที่อยู่ในไบโอมแหล่งนํ้าเค็มที่เป็นสาหร่าย เช่น สาหร่ายสีแดง
สาหร่ายสีนํ้าตาล และสาหร่ายสีนํ้าตาลแกมเหลือง สำ�หรับสัตว์ทะเล ได้แก่ แมงกระพรุน ดาวทะเล หมึก
ปลาฉ ลาม ปลาจาระเม็ด เป็นต้น