Page 33 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 33
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 3-23
2) ภาวะการเก้ือกูล (commensalism) แบบฝ่ายหนึ่งได้รับประโยชน์ ส่วนอีกฝ่ายหนึ่ง
ไม่เสียป ระโยชน์แต่ก็ไม่ได้รับป ระโยชน์แ ต่อ ย่างใด แบ่งเป็น 2 รูปแบบ คือ ภาวะเกื้อกูลกันต ลอดชีวิต และ
ภาวะเกื้อกูลก ันแ บบชั่วคราว
(1) ภาวะเก้ือกูลกันตลอดชีวิต (commensalism with continuous contact)
ไดแ้ ก่ พชื ที่ดำ�รงชีวติ โดยอาศัยพ ืชอน่ื เป็นทยี่ ึดเกาะ (epiphyte) เชน่ เถาวัลย์ พลดู า่ ง กระเชา้ สดี า ชายผา้ สดี า
เฟนิ กลว้ ยไม้ ทจี่ ะเกาะอ ยตู่ ามต น้ ไมใ้ หญ่ บรเิ วณเปลอื กข องล �ำ ตน้ โดยไดร้ บั ค วามชน้ื แ ละแ รธ่ าตบุ างอ ยา่ งจ าก
เปลือกของต ้นไม้ และใชเ้ ปน็ ท อี่ ยู่อ าศัยโดยต ้นไมใ้ หญ่ไม่เสยี ประโยชน์ หรือต ัวอยา่ งก ารเกื้อกูลกันต ลอดชีวติ
ของสัตว์ เชน่ การที่เพรียงหนิ ท เ่ี กาะอ ยู่บนเปลอื กห อย โดยทห่ี อยไมไ่ ด้รบั ป ระโยชน์และไมเ่ สยี ป ระโยชน์
(2) ภาวะเก้ือกูลกันแบบชั่วคราว (commensalism without continuous
contact) พบในส งิ่ ม ชี วี ติ ท ตี่ อ้ งอ าศยั ส ง่ิ ม ชี วี ติ ช นดิ อ น่ื เปน็ ท กี่ �ำ บงั ศ ตั รู หรอื ใชเ้ ปน็ ท อี่ ยอู่ าศยั แ ละห าอ าหาร เชน่
นก กระรอก และสัตวอ์ ืน่ ๆ ที่อ าศัยหรอื ท�ำ รังอยู่บ นต น้ ไม้ ได้ร บั ประโยชนจ์ ากต้นไม้ฝา่ ยเดยี ว สว่ นป ลาฉลาม
กบั เหาฉ ลาม เหาฉ ลามจ ะม อี วยั วะด ดู ต ดิ ส �ำ หรบั เกาะต ดิ ก บั ป ลาฉ ลาม โดยไดเ้ ศษอ าหารท เ่ี หลอื จ ากก ารก นิ ข อง
ปลาฉลาม ส่วนป ลาฉ ลามไม่ได้ประโยชนแ์ ต่กไ็ม่เสียป ระโยชน์
ภาพท ี่ 3.14 ชายผ า้ ส ดี า เป็นส ่งิ มีชวี ติ ท ีม่ กี ารเกอ้ื กลู กันต ลอดช วี ิตกบั ต ้นไม้ใหญ่
1.2.2 ความสัมพันธ์แบบการแข่งขันทำ�ลาย (antagonist) เป็นความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
2 ชนิดที่ฝ่ายห นึ่งได้ป ระโยชน์แต่อีกฝ ่ายเสียประโยชน์ มีค วามส ัมพันธ์ 3 แบบ คือ
1) ภาวะการล่าเหย่ือ (predation) เป็นความสัมพันธ์ที่พบมากในระบบนิเวศโดยทั่วไป
โดยส ิ่งม ีช ีวิตช นิดห นึ่งล ่าส ิ่งม ีช ีวิตอ ีกช นิดห นึ่งเพื่อเป็นอ าหารโดยก ารฆ ่า เรียกส ิ่งม ีช ีวิตท ี่ก ินส ิ่งม ีช ีวิตอ ื่นเป็น